300 likes | 688 Views
การจัดการความรู้ (Knowledge Management). โดย ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด ผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริมการสื่อสารพัฒนาการเรียนรู้ สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม ( สคส. ) The Knowledge Management Institute (KMI) www.kmi.or.th. QCC. Reengineering. MBO. KM. ISO 9000. CRM. TQM. ERP. OD.
E N D
การจัดการความรู้ (Knowledge Management) โดย ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด ผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริมการสื่อสารพัฒนาการเรียนรู้ สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) The Knowledge Management Institute (KMI) www.kmi.or.th
QCC Reengineering MBO KM ISO 9000 CRM TQM ERP OD LO Downsizing BSC Team-building Benchmarking Core Competencies
KM คืออะไร ?.... อะไรที่ไม่ใช่ KM ! - • KM ไม่ใช่ เกมส์เศรษฐี • ไม่มีคำตอบสุดท้าย, ไม่มีสูตรสำเร็จ, not one-size fit all • KM ไม่ใช่ MK (slogan ที่ศิริราช) • ไม่ใช่ 10 นาทีพร้อมทาน, ไม่ใช่อาหารจานด่วน,3 เดือนเห็นผล • KM ไม่ใช่ตัว เป้าหมาย • KM เป็นตัวกระบวนการ เป็นเครื่องมือ (ให้เบ็ด สอนตกปลา) • KM เริ่มต้นที่ คน และวกวนอยู่กับ งาน • เป็นเรื่องการสร้าง “ภาวะผู้นำ” ให้กับคนทุกระดับ • เป็นเรื่องการสร้าง “วัฒนธรรม” ใหม่ให้กับองค์กร
KM Concept ความรู้ คน + วัฒนธรรมองค์กร ความรู้จากภายนอก งาน เลือก คว้า ใช้ กำหนดเป้าหมายของงาน งานบรรลุเป้าหมาย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ยกระดับความรู้ จัดเก็บ ปรับปรุง ค้นหา คลังความรู้ (ภายใน) ผังแสดงองค์ประกอบของการจัดการความรู้ตามแนวทางของ สคส.
Knowledge Vision (KV) Implementation Model KM ฉบับ “ปลาทู” (KM = KV+KS+KA) ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร”
เป้าหมายของการทำ KM ตัวอย่างที่ 1: “เพื่อพัฒนาขีดความสามารถการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ”
ตัวอย่างที่ 2 กรอบแนวคิดการประเมินตนเองตามบันไดขั้นที่ 1 สู่ HA (Self Assessment Framework for HA) ร.พ. ที่ 1
ระดับปัจจุบันของรพ.ที่ 1 และรพ.อื่นๆ
ระดับปัจจุบันของ รพ. ที่ 1 เมื่อเทียบกับกลุ่ม
KM “ฉบับปลาทู” (ต่อ) Knowledge Sharing (KS) Knowledge Vision (KV) ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn)
ช่องว่าง (Gap) ระหว่างระดับที่เป็นเป้าหมาย (Target) กับระดับปัจจุบัน (Current) ในเรื่องการป้องกันและเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล Target Current
LEVEL 6. การป้องกันและเฝ้าระวัง การติดเชื้อในโรงพยาบาล 5 4 3 2 1 1 0 2 3 4 GAP ( = Target minus Current) พร้อมให้ ร.พ.7 ร.พ.2, 8 ร.พ.5, 9 ใฝ่รู้ ร.พ.6 ร.พ.1 ร.พ.3 ร.พ.4 ร.พ.10, 11
การจัดการความรู้ การจัดการความสัมพันธ์ Care & Share / Give & Grow Share & Shine
… KM เริ่มต้นที่ใจ … เป็นเรื่องของสายใย … เป็นเรื่องของเครือข่าย …เป็นเรื่องของความเชื่อมโยง … ที่มาจากความผูกพัน อันมั่นคง
KM “ฉบับปลาทู” (ต่อ) ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) Knowledge Sharing (KS) Knowledge Vision (KV) Knowledge Assets (KA) ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” ส่วนหาง ส่วนคลังความรู้ เชื่อมโยงเป็นเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT สร้าง CoPs ที่มีพลัง ดุจดั่งปลา“สะบัดหาง”
เพิ่ม เพิ่ม เพิ่ม เพิ่ม สรุป เพิ่ม สรุป บทเรียน ขุมความรู้ (Knowledge Asset) เรื่อง…….. สิบเรื่องสำคัญที่สุดที่จะต้องรู้หารายละเอียดเพิ่มเติมได้จากที่ไหน เอามาปรับใช้ได้อย่างไร ควรปรึกษาใคร
ประเด็น/หลักการ เรื่องเล่า &คำพูด “ “ แหล่งข้อมูล/บุคคล “เราทดลองวิธีการใหม่ …” “ “ โทร. ... ..... เป็นขุมความรู้ (Knowledge Assets)ที่มีบริบทและรายละเอียด ตามกาละและเทศะที่ต้องการความรู้นั้น
ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) Knowledge Sharing (KS) Knowledge Vision(KV) Knowledge Assets (KA) ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่ายประยุกต์ใช้ ICT สร้าง CoPs ที่มีพลัง ดุจดั่งปลา“สะบัดหาง” ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Facilitators Knowledge Practitioners CKO
รู้อะไร รู้ว่า ไม่รู้อะไร *KM Modelระดับปัจเจก 1 3 Known Area Unknown Area “Explicit Knowledge” “Implicit Knowledge” Learn Action 2 4 Blind Area Hidden Area ไม่รู้ว่า Ignorance (อวิชชา) We know more than we can tell (Polanyi) Open-up “Tacit Knowledge” * นำเสนอแนวคิดโดย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.)
Intellect Intuition Instinct ศักยภาพที่สมดุล เพื่อชีวิตที่สมบูรณ์ ปัญญาญาณ “เข้าถึง”- จิตวิญญาณ ปรีชาญาณ Heart “เข้าใจ”- หัวสมอง สัญชาตญาณ Head “เข้ารหัส”- DNA Body