1 / 30

การเลือกใช้คำสั่ง Select SQL ในการ สืบค้นข้อมูลใน Visual Foxpro

การเลือกใช้คำสั่ง Select SQL ในการ สืบค้นข้อมูลใน Visual Foxpro. สมาชิก. นายไกรวุฒิ พูลสวัสดิ์ เลขที่ 4 นางสาวศุภิสรา จิตรตรง เลขที่ 10 นางสาวนิรมล อุบลศรี เลขที่ 12 นางสาวพรทิพย์ ราชวงษ์ เลขที่ 17 เวชระเบียน ปี 4. ความเป็นมาของภาษา SQL.

harmon
Download Presentation

การเลือกใช้คำสั่ง Select SQL ในการ สืบค้นข้อมูลใน Visual Foxpro

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเลือกใช้คำสั่ง Select SQL ในการ สืบค้นข้อมูลใน Visual Foxpro

  2. สมาชิก นายไกรวุฒิ พูลสวัสดิ์ เลขที่ 4 นางสาวศุภิสรา จิตรตรง เลขที่10 นางสาวนิรมล อุบลศรี เลขที่12 นางสาวพรทิพย์ ราชวงษ์ เลขที่17 เวชระเบียน ปี 4

  3. ความเป็นมาของภาษาSQL SQLจัดเป็นภาษามาตรฐานบนระบบฐาน ข้อมูลเชิงสัมพันธ์ซึ่งเป็นภาษาที่สามารถใช้งานได้ในคอมพิวเตอร์หลายระดับ ไม่ว่าจะเป็นระดับเมนเฟรมคอมพิวเตอร์จนถึงไมโครคอมพิวเตอร์

  4. การใช้งานภาษา SQLในปัจจุบันมี 2 ลักษณะ คือ แบบโต้ตอบ (Interactive SQL)และ แบบฝังตัวในโปรแกรม (Embedded  SQL)

  5. วัตถุประสงค์ของSQL 1.สร้างฐานข้อมูลและโครงสร้างรีเลชั่น 2.สนับสนุนงานด้านการจัดการฐานข้อมูลพื้นฐาน 3.สนับสนุนการค้นหา สืบถาม หรือคิวรี่ ข้อมูลและการแปลงข้อมูล

  6. ประเภทของคำสั่งภาษาSQL 1.ภาษานิยามข้อมูล (Data Definition Language : DDL) คำสั่งที่ใช้ # คำสั่ง CREATE คำสั่งที่ใช้ในการสร้าง # คำสั่ง DROP คำสั่งที่ใช้ในการลบ # คำสั่งALTERคำสั่งที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลง โครงสร้างตาราง

  7. 2.ภาษาการจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language : DML) คำสั่งที่ใช้ #SELECTคำสั่งที่ใช้ในการคิวรีข้อมูลในฐานข้อมูล #INSERTคำสั่งที่ใช้เพิ่มข้อมูลในตาราง     #UPDATEคำสั่งที่ใช้ปรับปรุงข้อมูล(Update) ในตาราง #DELETEคำสั่งที่ใช้ลบข้อมูลออกจากตาราง

  8. 3.ภาษาควบคุมข้อมูล (Data Control Language : DCL)

  9. คำสั่งพื้นฐานในการสืบค้นข้อมูลคำสั่งพื้นฐานในการสืบค้นข้อมูล คำสั่งSelect  Statement คำสั่ง Selectเป็นคำสั่งที่ใช้เรียกดูข้อมูลจากตารางข้อมูล ตามความต้องการของผู้ใช้ โดยสามารถใช้ร่วมกับ Functionทางคณิตศาสตร์ หรือเงื่อนไขประกอบต่างๆใน SQL  Commandได้ อีกทั้งยังสามารถเรียกดูข้อมูลจากหลายๆตารางพร้อมกัน

  10. คำสั่งColumn_expression   เป็นการแทนค่าชื่อคอลัมน์ หรือexpression , table_nameคือชื่อของตารางที่ต้องการเข้าถึงเพื่อวิวข้อมูล และaliasคือชื่อย่อของตารางที่ใช้แทนtable_name

  11. ชุดคำสั่งSELECT มีดังนี้ ? FROMกำหนดตารางที่ต้องการใช้งาน ? WHEREสร้างเงื่อนไขเพื่อการกรอง (filter) แถวที่ต้องการ ? GROUP BYจัดกลุ่ม แถว ที่มีค่าคอลัมน์เดียวกัน ? HAVINGกรองกลุ่มเนื้อหาในบางเงื่อนไข จาก  GROUP BY ? ORDER BYกำหนดให้เรียงผลลัพธ์ โดยที่ ASC คือ การเรียงลำดับจากน้อยไปมาก (Default)  และ DESC   คือการเรียงลำดับจากมากไปน้อย

  12. SQL  สามารถใช้เครื่องหมายเปรียบเทียบ (Comparison Operators) ต่างๆ ได้ดังนี้= , ? , ? , ? , ? และ ? ? หรือ? หรือใช้เครื่องหมายทางตรรกะ (logical  Operators)   (logical  Operators)  ได้แก่ AND , OR , NOT  หรือการใช้เงื่อนไข (Condition) อื่นๆ เช่น

  13. - BETWEEN  /  NOT BETWEEN ใช้แสดงข้อมูลเป็นช่วงๆ หรือระหว่างข้อมูลA ถึงB - IN /  NOT IN ใช้แสดงตำแหน่งข้อมูลหรือกำหนดตำแหน่ง - LIKE / NOT LIKE เป็นโอเปอเรเตอร์ที่ใช้ในการค้นหาข้อมูลด้วยตัวอักษรด้วยเครื่องหมาย Wildcard เช่น % และ _ คล้ายๆ การใช้ * ใน DOS - IS NULL / IS NOT NULL ใช้ค้นหาข้อมูลที่บางคอลัมน์ของตาราง มี/ไม่มี ข้อมูล

  14. การใช้ฟังก์ชั่นต่างๆ ในSQL - COUNT เป็นฟังก์ชั่นใช้ในการนับคำนวณ - SUM   เป็นฟังก์ชั่นหาผลรวม -AVG  เป็นฟังก์ชั่นหาค่าเฉลี่ย - MINเป็นฟังก์ชั่นหาค่าต่ำสุด - MAX เป็นฟังก์ชั่นหาค่าสูงสุด

  15. การสอบถามข้อมูลพื้นฐาน(Select)การสอบถามข้อมูลพื้นฐาน(Select) 1.สอบถามข้อมูลด้วย(Select) การเรียกค้น เป็นการค้นหาข้อมูลที่เราต้องการ จากตาราง ในฐานข้อมูล ในกรณีที่เรามีข้อมูลอยู่เป็นจำนวนมาก การค้นหาข้อมูล โดยการเข้าถึงข้อมูลทีละRecordใน ตารางจะทำให้เสียเวลามาก การเรียกค้นจึงเป็นวิธีการที่เรา นำมาใช้เพื่อให้การค้นหาข้อมูล จากฐานข้อมูลเป็นไปอย่าง รวดเร็ว

  16. รูปแบบประโยคพื้นฐานของภาษา SQL สำหรับการเรียกค้นสามารถทำได้ดังนี้ SELECT FieldName, FieldName,...         FROM TableName, TableName,... คือ เป็นการเลือกFieldต่างๆ จากตารางต่างๆ ที่กำหนด ออกมาแสดง โดยในการสอบถามข้อมูลด้วยคำสั่ง Selectจะต้องกำหนดชื่อคอลัมน์ และชื่อตารางให้ชัดเจน

  17. 2.เปลี่ยนหัวคอลัมน์เป็นข้อความอื่นด้วยSelect...As2.เปลี่ยนหัวคอลัมน์เป็นข้อความอื่นด้วยSelect...As ในการแสดงผลที่ได้จากคำสั่งSelectนั้นจะใช้ชื่อคอลัมน์มาเป็นหัวคอลัมน์ ซึ่งอาจเป็นชื่อที่ไม่สื่อความหมายชัดเจน เช่น ชื่อคอลัมน์ Occupa หมายถึง Occupation, Dobหมายถึง Date of birth เป็นต้น อย่างไรก็ตามสามารถเปลี่ยนหัวคอลัมน์เป็นข้อความใดๆได้ตามต้องการ โดยใช้รูปแบบดังนี้ คือ Select <ชื่อคอลัมน์เดิม> AS “ชื่อคอลัมน์ใหม่”

  18. 3.แสดงข้อมูลที่ไม่ซ้ำกันด้วย Distinct ข้อมูลในแต่ละแถวอาจมีค่าเหมือนกัน ทำให้การแสดงผลซ้ำกันหลายบรรทัด ดูยากและไม่ชัดเจน ก็อาจใส่คำว่า“Distinct” นำหน้าชื่อคอลัมน์ เพื่อแสดงผลข้อมูลที่ซ้ำกันในหลายแถวเพียงครั้งเดียว หรือแถวเดียวเท่านั้น โดยมีรูปแบบดังนี้ คือ Select Distinct <ชื่อคอลัมน์> From <ชื่อตาราง>

  19. 4.การเรียงข้อมูลด้วยOrder By สามารถใช้คำสั่ง Selectเพื่อแสดงและจัดเรียงแถวตามข้อมูลในคอลัมน์หนึ่งๆ ได้ โดยเพิ่มประโยคคำสั่งย่อย ORDER BYโดยมีรูปแบบดังนี้ คือ Select <ชื่อคอลัมน์> From <ชื่อตาราง> ORDER BY <ชื่อคอลัมน์> [DESC]

  20. การสอบถามข้อมูลแบบมีเงื่อนไข (Select…Where) 1.เลือกเฉพาะข้อมูลที่ต้องการด้วย Where คำสั่ง SELECT สามารถช่วยให้เราค้นหาข้อมูล ที่ต้องการได้ในระดับหนึ่งเท่านั้น ถ้าต้องการเจาะลึกเข้าไปในรายละเอียด ของแต่ละRecord แล้ว เราจะไม่สามารถเรียกค้นข้อมูลตามที่ต้องการ ได้เลยเช่น ต้องการเรียกค้นเฉพาะเพศชาย เป็นต้น ดังนั้นจึงต้องใช้ WHEREเพื่อค้นหาตามเงื่อนไขข้างต้น รูปแบบดังนี้ คือ

  21. Select <ชื่อคอลัมน์> From <ชื่อตาราง> Where <เงื่อนไข>; 2.เลือกข้อมูลโดยระบุหลายเงื่อนไข กรณีที่ 1ต้องการข้อมูลที่ทุกเงื่อนไขเป็นจริงพร้อมกัน ให้เชื่อมด้วย And กรณีที่ 2ต้องการข้อมูลที่เงื่อนไขตัวใดตัวหนึ่งหรือทั้งหมดเป็นจริง ให้เชื่อมด้วย OR กรณีที่ 3ต้องการข้อมูลที่ตรงกันข้าม (นิเสธ) กับเงื่อนไข ให้เชื่อมด้วยNOT

  22. 3.เลือกข้อมูลที่ตรงตามชุดข้อมูลด้วย IN สามารถจัดการกับข้อมูลที่เป็นเซ็ตด้วยการใช้คำสงวน “IN” กำหนดเงื่อนไขในประโยคคำสั่งย่อย Where โดยมีรูปแบบ ดังนี้ คือ Select <ชื่อคอลัมน์> From <ชื่อตาราง> Where <ชื่อคอลัมน์> [NOT] in (ข้อมูลในคอลัมน์);

  23. 4.เลือกข้อมูลที่อยู่ในช่วงที่ต้องการด้วย BETWEEN … AND ในการกำหนดเงื่อนไขเพื่อเลือกข้อมูลที่มีค่าเป็นช่วงระหว่างค่าหนึ่งกับอีกค่าหนึ่งให้ใช้คำว่า BETWEEN และ NOT BETWEEN ในประโยคเงื่อนไข WHERE มีรูปแบบดังนี้คือ SELECT <ชื่อคอลัมน์> FROM <ชื่อตาราง> WHERE <ชื่อคอลัมน์> [NOT] BETWEEN <ข้อมูล1ในคอลัมน์> AND <ข้อมูล2ในคอลัมน์>

  24. 5.เลือกข้อมูลที่ตรงกับรูปแบบที่ต้องการด้วย LIKE สามารถกำหนดเงื่อนไขเพื่อเลือกข้อมูลที่มีรูปแบบตรงกันตามที่กำหนด โดยใช้คำว่า “LIKE”และอักษร ‘_’ แทนอักษรใดๆ 1ตัว และ ‘%’ แทนอักษรใดๆ กี่ตัวก็ได้ หรือ ไม่มีตัวอักษรที่ตำแหน่งนั้นเลยก็ได้

  25. การสอบถามข้อมูลด้วยฟังก์ชัน สำหรับการคำนวณทางคณิตศาสตร์ ในบางครั้งการสอบถามข้อมูลอาจต้องอาศัยการคำนวณทางคณิตศาสตร์ ซึ่งตัวดำเนินการ(Operator) ที่ใช้ใน SQL จะปรากฏดังตาราง และการคำนวณด้วยตัวดำเนินการดังกล่าวจะทำได้เฉพาะกับข้อมูลที่มีชนิดเป็นตัวเลขเท่านั้น

  26. ตาราง ตัวดำเนินการเชิงคณิตศาสตร์ตาราง ตัวดำเนินการเชิงคณิตศาสตร์

  27. การสอบถามข้อมูลด้วยฟังก์ชันสำหรับกลุ่มข้อมูลการสอบถามข้อมูลด้วยฟังก์ชันสำหรับกลุ่มข้อมูล ฟังก์ชั่นที่ใช้หาค่าของข้อมูลทั้งกลุ่ม ตาราง ฟังก์ชั่นเชิงคณิตศาสตร์สำหรับกลุ่มข้อมูล

  28. การสอบถามข้อมูลด้วยฟังก์ชันสำหรับตัวอักษรการสอบถามข้อมูลด้วยฟังก์ชันสำหรับตัวอักษร ฟังก์ชั่นที่ใช้หาค่าของข้อมูลทั้งกลุ่ม การสอบถามข้อมูลแบบจัดกลุ่มข้อมูล คำสั่ง(SELECT...GROUP BY) มีรูปแบบคือ SELECT <column-name(s)> FROM <table-name> GROUP BY <column-name(s)>

  29. การเลือกกลุ่มด้วยHAVINGและWHEREการเลือกกลุ่มด้วยHAVINGและWHERE ในการสอบถามข้อมูลแต่ละแถวจะใช้ประโยคคำสั่งย่อย WHERE เพื่อกำหนดเงื่อนไข ส่วนการสอบถามข้อมูลที่เป็นกลุ่ม (group) จะใช้ประโยคคำสั่งย่อย HAVING เพื่อกำหนดเงื่อนไขแทน ดังนี้ มีรูปแบบคือ SELECT <column-name(s)> FROM <table-name> GROUP BY <column-name(s)> HAVING <condition>

  30. นอกจากนี้สามารถใช้คำสั่งย่อย WHERE ร่วมกับประโยคคำสั่งย่อย GROUP BY และHAVINGเพื่อลดแถวข้อมูลบางแถวที่ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขในประโยคคำสั่งย่อย WHERE ได้ โดยมีรูปแบบ ดังนี้ SELECT <column-name(s)> FROM <table-name> WHERE <condition> GROUP BY <column-name(s)> HAVING <condition>

More Related