510 likes | 825 Views
บทที่ 4. ความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายด้านนโยบายและเครื่องมือด้านนโยบายการคลัง. (เพิ่มเติม). ถวิล นิลใบ. นโยบายการคลัง( EC709). http://www.eco.ru.ac.th/tawin/EC% 20709/ Fiscal% 20 policy.pdf สืบค้นวันที่ 17 สิงหาคม 2552. นโยบายการคลังของประเทศไทย. นโยบายการคลังของไทย. โดย พรชัย ฐีระเวช
E N D
บทที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายด้านนโยบายและเครื่องมือด้านนโยบายการคลัง (เพิ่มเติม)
ถวิล นิลใบ. นโยบายการคลัง(EC709). http://www.eco.ru.ac.th/tawin/EC%20709/Fiscal%20policy.pdfสืบค้นวันที่ 17 สิงหาคม 2552
นโยบายการคลังของประเทศไทยนโยบายการคลังของประเทศไทย
นโยบายการคลังของไทย โดย พรชัย ฐีระเวช ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายการคลังและงบประมาณ รานี อภิญญาวัตร ผู้อำนวยการส่วนวางแผนการคลัง สำนักนโยบายการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง 13 มีนาคม 2549
กรอบการบรรยาย • ความหมายและบทบาทของนโยบายการคลัง • เป้าหมายของนโยบายการคลัง • เครื่องมือของนโยบายการคลัง • การดำเนินนโยบายการคลังในอดีต • แนวทางการดำเนินนโยบายการคลังในปัจจุบันและอนาคต
ความหมายและบทบาทของนโยบายการคลัง(Fiscal Policy) • เป็นนโยบายที่รัฐบาลใช้เครื่องมือทางการคลังเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายทางเศรษฐกิจและสังคมในภาพรวม โดยอาศัยเครื่องมือทางการคลัง ทั้งทางด้านรายได้และรายจ่ายของรัฐบาล • รัฐบาลใช้นโยบายภาษี และรายจ่ายในการสนับสนุนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ เช่น • การลดภาษีขาเข้าสำหรับสินค้าทุนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน • การเพิ่มรายจ่ายภาครัฐเพื่อช่วยในการกระตุ้นเศรษฐกิจ • ดำเนินนโยบายการคลังแบบขาดดุล เกินดุล ตลอดจนการชดเชยการขาดดุลที่เหมาะสมเพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
เป้าหมายของนโยบายการคลังเป้าหมายของนโยบายการคลัง 1. สร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 2. รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 3. กระจายรายได้ที่เป็นธรรม 4. จัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
เครื่องมือของนโยบายการคลังเครื่องมือของนโยบายการคลัง • รายได้ของรัฐบาล • รายได้จากการเก็บภาษีทางตรง และทางอ้อม • รายได้ที่ไม่ใช่จากการเก็บภาษี • งบประมาณรายจ่าย • การก่อหนี้และการบริหารหนี้สาธารณะ • การบริหารเงินคงคลัง
การใช้นโยบายการคลังกับเศรษฐกิจการใช้นโยบายการคลังกับเศรษฐกิจ ลักษณะ ความคาดหวัง วิธีการ ลดความต้องการใช้จ่ายภายในประเทศ ทำให้รายได้ประชาชาติลดลง เพื่อชะลอความร้อนแรงของเศรษฐกิจ • แบบหดตัว • จัดทำงบประมาณรายจ่ายแบบเกินดุล • จัดเก็บภาษีมากขึ้น • แบบขยายตัว เพิ่มความต้องการใช้จ่ายภายในประเทศ เพื่อทำให้รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น • จัดทำงบประมาณรายจ่ายแบบขาดดุล • ลดภาษี
เครื่องมือทางการคลังกับเป้าหมายทางเศรษฐกิจเครื่องมือทางการคลังกับเป้าหมายทางเศรษฐกิจ 1. การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ • เศรษฐกิจชะลอตัว - เพิ่มการใช้จ่ายของรัฐ (นโยบายขาดดุล) - ลดภาษี เพื่อกระตุ้นการใช้จ่ายการบริโภค และการลงทุน • เศรษฐกิจขยายตัว - ลดการใช้จ่ายของรัฐบาล (นโยบายเกินดุล, นโยบายสมดุล) - ส่งเสริมเอกชนเป็นผู้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ 2. การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ • ภายในประเทศ: การรักษาระดับราคาไม่ให้ขยายตัว/หดตัวเร็วเกินไป หรือป้องกันไม่ให้เกิดสภาวะการว่างงาน • ระดับราคาสูง: ทำงบประมาณเกินดุล ลดการใช้จ่าย เพิ่มภาษี • ว่างงาน: ทำงบประมาณขาดดุลกระตุ้นการใช้จ่าย เกิดการจ้างงาน • นอกประเทศ : การดูแลดุลการค้า ดุลการชำระเงิน ภาระหนี้ต่างประเทศ ฐานะเงินสำรองระหว่างประเทศ และอัตราแลกเปลี่ยน อยู่ในระดับที่เหมาะสม • ใช้มาตรการภาษีที่เอื้อต่อการส่งออก/ชะลอการนำเข้า
เครื่องมือทางการคลังกับเป้าหมายทางเศรษฐกิจ (ต่อ) 3. การกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม : การกระจายความเจริญ การพัฒนาไปสู่ประชาชน เพื่อลดช่องว่างระหว่างรายได้ ลดปัญหาทางสังคม • จัดสรรงบประมาณสู่ภูมิภาคและท้องถิ่น เพื่อให้เกิดการสร้างงาน • จัดเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้า 4. การจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ : การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด • ใช้มาตรการด้านภาษีเพื่อเปิดโอกาสให้อุตสาหกรรมในประเทศผลิตสินค้าและบริการที่มีต้นทุนต่ำ และมีประสิทธิภาพ • จัดหาสินค้าสาธารณะ
นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต นโยบายการคลัง บทบาทของนโยบายการคลัง (2531 - ปัจจุบัน) • ช่วงรุ่งเรืองก่อนวิกฤติ (2531-2539) • ช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ (2540 - 2543) • ช่วงฟื้นฟูเศรษฐกิจ (2544 - 2547) • ช่วงปัจจุบัน (ปัจจุบัน) • ผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินนโยบายการคลัง ทิศทางของนโยบายการคลัง ในอนาคต • เน้นเติบโตที่ยั่งยืน ปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ • สังคมและท้องถิ่นที่แข็งแกร่ง • สิ่งแวดล้อมที่สนับสนุนการเติบโตที่ยั่งยืน • สร้างความเป็นธรรม • บูรณาการนโยบายสาธารณะ • Humanware ต้องแปลงโฉมใหม่
นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต การแก้ไขปัญหาสถาบันการเงิน ไม่เด็ดขาด การเปิดเสรีภาคการเงิน ทุนสำรองระหว่างประเทศถูกใช้ในการปกป้องค่าเงิน การขาดเสถียรภาพและความเชื่อมั่นในรัฐบาล สาเหตุการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับสูง ดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุลอย่างต่อเนื่อง การดำเนินนโยบายอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนที่ผิดพลาด
นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 2528-2542 % 13.3 11.2 4.5 4.6 -1.4 -10.5
นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต อัตราแลกเปลี่ยน ม.ค.40-ธ.ค.42 บาท/ดอลลาร์สหรัฐ 53.81 นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างเต็มที่ นโยบายเศรษฐกิจแบบตึงตัว นโยบายเศรษฐกิจแบบผ่อนคลาย
นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต อัตราเงินเฟ้อ ม.ค.40-ธ.ค.42 % นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างเต็มที่ นโยบายเศรษฐกิจแบบตึงตัว นโยบายเศรษฐกิจแบบผ่อนคลาย
นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต อัตราดอกเบี้ยในตลาดซื้อคืนประเภท 1 วัน ( ม.ค.40-ธ.ค.42) % 23.35 22.87 19.65 นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างเต็มที่ นโยบายเศรษฐกิจแบบตึงตัว นโยบายเศรษฐกิจแบบผ่อนคลาย 1.0
นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต อัตราดอกเบี้ย MLR ( ม.ค.40-ธ.ค.42) % 15.25 15.375 นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างเต็มที่ 8.375 9.375 นโยบายเศรษฐกิจแบบตึงตัว นโยบายเศรษฐกิจแบบผ่อนคลาย
นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต ทุนสำรองระหว่างประเทศ ( ม.ค.40-ธ.ค.42) ล้านเหรียญสหรัฐ นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างเต็มที่ 25,938.6 นโยบายเศรษฐกิจแบบตึงตัว นโยบายเศรษฐกิจแบบผ่อนคลาย มค.41 มค.42 ธค.42 มค.40
นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง เครื่องมือทางการเงิน เครื่องมือทางการคลัง สถาบันการเงิน (ไม่แข็งแรง) สินเชื่อ ปริมาณเงิน ภาษี รายจ่าย หนี้ เงินคงคลัง C + I + G + (X - M) กระตุ้นเศรษฐกิจ GDP
นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต บทบาทกระทรวงการคลังในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ (2540 - 2543) • ช่วงนโยบายการคลังแบบตึงตัว (กรกฎาคม 2540 - กุมภาพันธ์ 2541) • ช่วงนโยบายการคลังแบบผ่อนคลาย (กุมภาพันธ์ 2541 - สิงหาคม 2541) • วัตถุประสงค์ : รักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจ
นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต บทบาทกระทรวงการคลังในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ (2540 - 2543) • ช่วงนโยบายการคลังกระตุ้นเศรษฐกิจ • (ธันวาคม 2541 - มีนาคม 2542) • ช่วงนโยบายระบบการเงินและนโยบายเศรษฐกิจอื่น • (สิงหาคม 2541 - สิงหาคม 2542) • วัตถุประสงค์ : ฟื้นฟูและกระตุ้นเศรษฐกิจ
การดำเนินนโยบายการคลังแบบ ผสมผสาน เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต บทบาทกระทรวงการคลังช่วง ปี 2544 - ปัจจุบัน มาตรการกึ่งการคลัง มาตรการการคลัง
นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต บทบาทกระทรวงการคลังช่วง ปี 2544 - ปัจจุบัน การดำเนินนโยบายการคลังขาดดุล ผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินนโยบาย การคลังเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ การดำเนินนโยบายกึ่งการคลัง เพื่อการกระตุ้นเศรษฐกิจ การดำเนินนโยบายการคลัง เพื่อรักษา กรอบความยั่งยืนทางการคลัง การสนับสนุนการกระจายอำนาจ ทางการคลังให้กับ อปท. การดำเนินนโยบายการคลังเพื่อปรับโครงสร้าง เศรษฐกิจและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต บทบาทกระทรวงการคลังช่วง ปี 2544 - ปัจจุบัน ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ การดำเนินนโยบาย การคลังขาดดุล
นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต บทบาทกระทรวงการคลังช่วง ปี 2544 - ปัจจุบัน ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ การดำเนินนโยบายกึ่งการคลัง เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ
นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต บทบาทกระทรวงการคลังช่วง ปี 2544 - ปัจจุบัน การดำเนินนโยบายการคลังเพื่อรักษาความยั่งยืนทางการคลัง ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
กรอบความยั่งยืนทางการคลังกรอบความยั่งยืนทางการคลัง
นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต บทบาทกระทรวงการคลังช่วง ปี 2544 - ปัจจุบัน การสนับสนุนการกระจายอำนาจทางการคลังให้กับ อปท. ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต บทบาทกระทรวงการคลังช่วง ปี 2544 - ปัจจุบัน ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ การดำเนินโยบายการคลัง เพื่อปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต • ทำให้ภาคการเงินการคลังมี • ความแข็งแกร่ง • เศรษฐกิจฐานรากและประชาชน • มีรายได้และคุณภาพชีวิตที่ขึ้น • เศรษฐกิจมีเสถียรภาพอย่างต่อเนื่อง • 4 ปีที่ผ่านมา กระทรวงการคลังมีบทบาทที่สำคัญในการซ่อมแซมและฟื้นฟูเศรษฐกิจ • นับจากนี้ไป เศรษฐกิจไทยกำลังมุ่งสู่การเปลี่ยนผ่านไปสู่ความมั่นคงและยั่งยืน ในทุกๆ ด้าน พร้อมๆ กับการเผชิญกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเงิน การคลัง และสังคม กระทรวงการคลัง จึงมีงานที่ท้าทายอยู่อีกมาก ประการแรก การสร้างภูมิคุ้มกันให้ระบบเศรษฐกิจสามารถเผชิญพลวัตรการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ประการที่สอง การสร้างความสมดุลทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อวางรากฐานที่มั่นคง ประการสุดท้าย การสร้างกระบวนการทำงานให้มีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปร่งใส และเอื้อประโยชน์ต่อภาครัฐองค์กรธุรกิจเอกชน และประชาชน
นโยบายการคลัง : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต บทบาทในอนาคต • เน้นเติบโตที่ยั่งยืน โตเชิงคุณภาพ ปรับและปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ • สังคมและท้องถิ่นที่แข็งแกร่ง • สิ่งแวดล้อมที่สนับสนุนการเติบโตที่ยั่งยืน • สร้างความเป็นธรรม • สร้าง 4 โอกาส เพื่อให้เกิดความเท่าเทียม • บูรณาการนโยบายการคลังภาคสาธารณะ • Humanware ต้องแปลงโฉมใหม่