470 likes | 1.49k Views
การบริหารจัดการผู้ป่วยโรคหืด (Asthma) และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD). ยูริสา แสน หูม สปสช. เขต 8 อุดรธานี. 29 มีนาคม 2554. 5 เมษายน 2556 ณ รร. เจริญโฮเต็ล จ.อุดรธานี. เป้าหมาย การสนับสนุนบริการ Asthma & COPD. หน่วยบริการให้บริการตามแนวทางการดูแลผู้ป่วย /มาตรฐานบริการสาธารณสุข
E N D
การบริหารจัดการผู้ป่วยโรคหืด(Asthma)และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)การบริหารจัดการผู้ป่วยโรคหืด(Asthma)และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD) ยูริสา แสนหูม สปสช.เขต 8 อุดรธานี 29 มีนาคม 2554 5 เมษายน 2556 ณ รร.เจริญโฮเต็ล จ.อุดรธานี
เป้าหมายการสนับสนุนบริการ Asthma & COPD หน่วยบริการให้บริการตามแนวทางการดูแลผู้ป่วย /มาตรฐานบริการสาธารณสุข ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี - admission rate ลดลง - อัตราการเสียชีวิต ลดลง
การชดเชยบริการ COPD 1. ชดเชยการจัดระบบบริการผู้ป่วยนอก 2. ชดเชยการรักษาด้วยยาสูดขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาว 3. ชดเชยตามผลการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพปอด Asthma 1. ชดเชยการรักษาด้วยยาสูดสเตียรอยด์ 2. ชดเชยตามผลลัพธ์การให้บริการ
เปรียบเทียบปี 55 - 56 Data set
Asthma 1. ชดเชยการรักษาด้วยยาสูดสเตียรอยด์ • มีข้อมูลการให้บริการ เดือน กรกฎาคม 55 ถึง 30 มิถุนายน 56 • ตัดข้อมูล ณวันที่ 2 สิงหาคม 2556 • จำนวน 1,000 บาทต่อรายที่ • รักษาต่อเนื่องอย่างน้อย 2 ครั้ง • ได้รับการรักษาด้วยยาสูดสเตียรอยด์ทุกครั้ง(รวมถึงครั้งที่แพทย์สั่งการรักษาแต่ไม่จ่ายยาเพิ่มเพราะมียาเหลืออยู่พอ) • ได้รับการประเมินสมรรถภาพปอดทุกครั้ง • ได้รับการสอนและประเมินการใช้ยาสูดอย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี
Asthma 2. ชดเชยตามผลลัพธ์บริการ • มีข้อมูลผู้ป่วยที่ได้รับการชดเชยด้วยยาสูดสเตียรอยด์ในปี 2555 • มีอัตราการรับเข้านอนรพ.ในเดือน ตุลาคม55 – มีนาคม 56 ของผู้ป่วยที่ได้รับการชดเชย น้อยกว่า ร้อยละ 8 • จำนวนไม่เกิน 2,000 บาทต่อราย
COPD 1. ชดเชยการจัดระบบบริการผู้ป่วยนอก (รายครั้ง) • จำนวน 100 บาทต่อครั้งที่ให้บริการ • ตรวจประเมิน BMI, อาการเหนื่อย (mMRC) และ • ซักประวัติสถานะการสูบบุหรี่ อาการไอและเสมหะ การเกิดอาการกำเริบ และ • บริการ/ติดตามเพื่อเลิกบุหรี่ ตามกระบวนการ 5A
COPD 2. ชดเชยการรักษาด้วยยาสูดขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาว ต้องมีรายการตามข้อ 1. จำนวน 1,000 บาทต่อรายที่ • รักษาต่อเนื่องอย่างน้อย 2 ครั้ง • ได้รับการรักษาด้วยยาสูดขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาวหรือ ยาสูดขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาวร่วมกับยาสูดสเตียรอยด์ ทุกครั้ง (รวมถึงครั้งที่แพทย์สั่งการรักษาแต่ไม่ได้จ่ายยาเพิ่มเพราะมียาเหลืออยู่พอ) และ • ได้รับการสอนและประเมินการใช้ยาสูดอย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี และ • ได้รับการประเมิน CAT อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี
COPD 3. ชดเชยตามผลลัพธ์การให้บริการฟื้นฟูสภาพปอด จำนวน 1,000 บาท/ราย • ได้รับการประเมินเพื่อคัดเลือกเข้าโปรแกรมฟื้นฟู • ให้ความรู้เรื่องโรค การปฏิบัติตัวเพื่อหยุดสูบบุหรี่ การดูแลตนเอง เรื่องยาและวิธีการใช้ยา • ให้บริการฝึกหายใจ เช่น การควบคุมการหายใจแบบ Pursed lip • ฝึกการออกกำลังกาย ที่มีประสิทธิภาพทั้ง Strength และ Endurance • มีผลการประเมิน 6MWT, mMRC, CAT หลังจากเข้าโปรแกรม อย่างน้อย 6 สัปดาห์ดีขึ้นกว่าก่อนเข้าโปรแกรมอย่างน้อย 2 ผลการประเมิน
ร้อยละหน่วยบริการที่จัดบริการตามแนวทางต่อหน่วยบริการประจำปี 2554-2555
ร้อยละผู้ป่วยโรคหืดที่ได้รับบริการในคลินิกโรคหืด เทียบกับผู้ป่วยนอกในระบบหลักประกันสุขภาพ ปี 2555
อัตราการรับนอนรพ.ด้วยAsthma ต่อจำนวนผู้ป่วย Asthma ทั้งหมด (สิทธิ UC)
ร้อยละหน่วยบริการที่จัดบริการตามแนวทาง เทียบกับหน่วยบริการประจำ 57.96 35.27 16.01
ร้อยละผู้ป่วยCOPD ทั้งหมดในคลินิกที่จัดบริการตามแนวทาง เทียบกับผู้ป่วยนอก COPD ทั้งหมดในระบบหลักประกันสุขภาพ
อัตราการรับนอนรพ.ด้วยCOPD ต่อจำนวนผู้ป่วย COPD ทั้งหมด (สิทธิ UC)
การจัดสรรงบกองทุนดูแลผู้ป่วยนอกโรคหืดและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2555 สปสช.เขต 8 อุดรธานี
ข้อมูลและการส่งข้อมูลข้อมูลและการส่งข้อมูล Download dataset วิธีการส่งข้อมูล ได้ที่ Website สปสช.> บริการออนไลน์> การบริหารจัดการรายโรค > > 8.ระบบบริการผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD)>ดาวน์โหลด ใช้ข้อมูลตาม data set ที่กำหนด ใช้ข้อมูลบริการช่วงเดือน กค.55 ถึงมิย. 56 ส่งข้อมูลผ่าน website สปสช. ในโปรแกรม AsCOP (COPD dataเดิม) กำหนดส่งข้อมูล ภายในวันที่ 31 กค. 56
ขั้นตอนการเตรียม - ส่งข้อมูลของหน่วยบริการ • บันทึกข้อมูลการให้บริการ • โปรแกรมของรพ. หรืออื่นๆ • excel ที่กำหนด • 2.ตรวจสอบข้อมูลบริการ • ครบถ้วน • ถูกต้อง • 3. เตรียมข้อมูลเพื่อ upload • รูปแบบ • ชื่อไฟล์ • บริการระหว่าง • 1กค.55 – 30มิย.56 • 5. ติดตามผลการส่ง • Web สปสช.: รายงานการส่งข้อมูล • หลังจาก ส่งข้อมูล 1 วัน(กรณีส่งก่อน 21น.) • 4. ส่งข้อมูล upload • Web สปสช.: AsCOP • ภายใน 31 กรกฎาคม 2556 • 7. ติดตามข้อมูลชดเชย • Web สปสช.: รายงานการชดเชย • หลังจาก ส่งข้อมูล 1 วัน(กรณีส่งก่อน 21น.) • ตัดข้อมูลเพื่อจ่าย ณ 2 สิงหาคม 2556 • 6. แก้ไข กรณีข้อมูลผิดโครงสร้าง • ส่งไม่ผ่าน / ไม่ผ่านการตรวจสอบ • รายละเอียดตาม error code • ภายใน 31 กรกฎาคม 2556
การบันทึกข้อมูล โปรแกรม มีข้อมูลตาม dataset (visit, rehab)ที่กำหนด เป็นอย่างน้อย สามารถส่งออกข้อมูลตามรูปแบบที่กำหนด : โครงสร้าง excel file ตามรูปแบบ สามารถ download ได้ที่ website บันทึกตามรูปแบบที่กำหนด แปลงไฟล์เป็น text >> zipfile
การตรวจสอบข้อมูล ครบถ้วน ตาม dataset ที่กำหนด ถูกต้อง ตามบริการที่ให้ ตามรูปแบบข้อมูลที่กำหนด
การเตรียมข้อมูลเพื่อ upload รูปแบบไฟล์ : text file ที่อยู่ในรูป zip file ชื่อไฟล์visit_hcode_yyyymmdd.zip rehab_hcode_yyyymmdd.zip เช่น visit_16318_25550728.zip rehab_16318_25550310.zip
การส่งข้อมูล > นำเข้าข้อมูล
http://copd.nhso.go.th/copd/homeAct www.nhso.go.th>บริการออนไลน์ > บริหารจัดการรายโรค
ติดตามผลการส่งข้อมูล หลังจากส่ง 1 วัน รายงานการส่งข้อมูล
ข้อมูลรายงานผลการส่ง Visit 112 : BMI มีค่าเป็นเลข 2 หลัก หรือ n (กรณีไม่ได้ตรวจ) Visit 116 : Exaมีค่าเป็น 0, 1, n(กรณีไม่ได้ตรวจ)
ตัวอย่าง error code Code : visit111, rehab111 หมายถึง record ที่ส่งซ้ำ กับ record ที่เคยส่งแล้วตรวจสอบโรงสร้างผ่านแล้ว จะส่งใหม่อีกไม่ได้
ติดตามรายงานผลการชดเชยติดตามรายงานผลการชดเชย
ปัญหา ข้อเสนอแนะ • ศึกษา ทำความเข้าใจ : • มาตรฐานการให้บริการ • คู่มือการใช้งาน • dataset • เงื่อนไขการชดเชย • ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน : ข้อมูล โครงสร้าง รูปแบบ • ส่งและติดตามภายในระยะเวลาที่กำหนด
ขอบคุณค่ะ http:/udonthani.go.th