1.12k likes | 1.7k Views
จีน. China. การบรรยายเรื่อง จีน โดย นายพิษณุ เหรียญมหาสาร ที่ปรึกษาการพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์. 1. เศรษฐกิจจีนในอดีตถึงปัจจุบัน. อดีตอันยิ่งใหญ่ จีน : ผู้นำโลกทางด้านการปกครอง การทหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านการค้าระหว่างประเทศ - เส้นทางสายไหม. เหมา เจ๋อตุง ( Mao Zedong) 1949-1976.
E N D
จีน China
การบรรยายเรื่อง จีน โดย นายพิษณุ เหรียญมหาสาร ที่ปรึกษาการพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์
1. เศรษฐกิจจีนในอดีตถึงปัจจุบัน • อดีตอันยิ่งใหญ่ • จีน: ผู้นำโลกทางด้านการปกครอง การทหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • ด้านการค้าระหว่างประเทศ - เส้นทางสายไหม
เหมา เจ๋อตุง (Mao Zedong) 1949-1976 • ต่อสู้และได้รับชัยชนะต่อพรรคก๊กมินตั๋งของเจียงไคเช็ค • สถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน 1949 • นโยบายวางแผนเศรษฐกิจจากส่วนกลาง ตามแบบสังคมนิยม • พัฒนาจีนให้เป็นประเทศอุตสาหกรรม (Socialist Industrialization) • ช่วง 10 ปีสุดท้าย ’66 -’76 ใช้นโยบายปฏิวัติทางวัฒนธรรม (Cultural Revolution) ทำให้เศรษฐกิจถดถอย
เติ้ง เสี่ยวผิง (Deng Xiao Ping) 1978 - 1997 • ระบบเศรษฐกิจสังคมนิยมแบบเปิด (Social Market Economy System) • นโยบาย 4 ทันสมัย : ด้านการเกษตร อุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์&เทคโนโลยี และการทหาร • เปิดประเทศ ค้าขายกับประเทศเสรี • ริเริ่มใช้ระบบเศรษฐกิจแบบการตลาด อนุญาตให้เกษตรกรขายผลิตผลของตน • วางแผนพัฒนาประเทศ 3 ขั้นตอน • เริ่มจากการเปิดเขตเศรษฐกิจพิเศษ ต่อมาเปิดเมืองท่าตามแนวชายฝั่งทะเล
GDP per capita (Yr.2000) by province 8,813 Heilongjiang 6,707 Jilin 7,026 11,009 17,833 Liaoning 5,899 Xinjiang 16,390 Beijin Inner Mongolia 3,840 Gansu Tianjin 7,531 Hebei 4,970 4,732 9,407 Shanxi Shandong 5,058 Ningxia 11,539 Qinghai 5,536 17,251 Jiangsu 4,601 Shaanxi Henan 4,262 Shanghai 5,062 Tibet 7,091 Anhui Hubei 4,814 12,872 5,146 Zhejiang Sichuan 4,773 Chongqing 5,728 Jiangxi 11,297 Hunan 2,813 Fujian Guizhou 4,611 11,007 4,536 Guangdong Yunnan Guangxi = GDP per capita (2000) In RMB 6,570 Hainan
ผลิตภัณฑ์มวลรวม(GDP) ปี 2544ของ 9 ประเทศเอเซีย กับ 6 เขตในจีนตะวันออก 7 9 10 3 14 8
เปรียบเทียบขนาด(GDP)6 เขตใหญ๋ในจีนตะวันออกกับ9 ประเทศเอเซีย(ปี 2544) 1 เกาหลีใต้ 457 BUS$ 2 ไต้หวัน 310 BUS$ 3. สามเหลี่ยมปากน้ำ ฉางเจียง 234 BUS$ 4 อินโดนีเซีย 164 BUS$ 5 ฮ่องกง 163 BUS$ 6 ประเทศไทย 127 BUS$ 7 สามมณฑลตะวันออกเฉียงเหนือ 119 BUS$ 8 สามเหลี่ยมปากน้ำจูเจียง 116 BUS$ 9 เป้ยจิง & เทียนจิน112 BUS$ 10 มณฑลซานตง 104 BUS$ 11 สิงค์โปร์ 97 BUS$ 12 มาเลเซีย 95 BUS$ 13 ฟิลิปปินส์ 74 BUS$ 14 มณฑลฟูเจี้ยน 48 BUS$ 15 เวียตนาม 32 BUS$
5.2 แผนมาตรการรองรับยุทธศาสตร์การค้าขยายตลาดจีน 5.2.1 สามเหลี่ยมปากน้ำฉางเจียง (เซี่ยงไฮ้/เจียงซู /เจ๋อเจียง) 3. สามเหลี่ยมปากน้ำฉางเจียง 234 BUS$ ข้าวหอมมะลิ ผัก ผลไม้ อัญมณีและเครื่องประดับกาย เครื่องใช้และเครื่องตกแต่งบ้าน อะไหล่รถยนต์ ร้านอาหารไทย การศึกษา การท่องเที่ยว
2. ตะวันออกเฉียงเหนือ(เหลียวหนิง/จี๋หลิน/เฮยหลงเจียง) 7 สามมณฑลตะวันออกเฉียงเหนือ 119 BUS$ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผัก ผลไม้ อะไหล่รถยนต์ เครื่องประดับกาย ร้านอาหารไทย การศึกษา การท่องเที่ยว
เขตเป้ยจิง / เทียนจิน และ มณฑลซานตง 9 เป้ยจิง & เทียนจิน112 BUS$ ข้าวหอมมะลิ ผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องตกแต่งบ้าน อัญมณี อะไหล่รถยนต์ ผัก ผลไม้ ร้านอาหารไทย การศึกษา การท่องเที่ยว 10 มณฑลซานตง 104 BUS$
3. สามเหลี่ยมปากน้ำจูเจียง มณฑลกวางตุ้ง และมณฑลฟูเจี้ยน 8 สามเหลี่ยมปากน้ำจูเจียง 116 BUS$ ข้าวหอมมะลิ ผักผลไม้ เครื่องตกแต่งบ้าน อะไหล่รถยนต์ ผลิตภัณฑ์อาหาร
4. ภาคตะวันตกและภาคใต้ของจีน ข้าวหอมมะลิ ผัก ผลไม้ อาหาร เฟอร์นิเจอร์ เครื่องตกแต่งบ้าน เครื่องใช้ในบ้าน วัสดุก่อสร้าง อะไหล่รถยนต์ การศึกษา การท่องเที่ยว ร้านอาหารไทย
5.2 แผนมาตรการรองรับยุทธ์ศาสตร์การค้าขยายตลาดจีน (ต่อ)
5.2 แผนมาตรการรองรับยุทธ์ศาสตร์การค้าขยายตลาดจีน (ต่อ)
5.2 แผนมาตรการรองรับยุทธ์ศาสตร์การค้าขยายตลาดจีน (ต่อ)
5.2 แผนมาตรการรองรับยุทธ์ศาสตร์การค้าขยายตลาดจีน (ต่อ)
มณฑลที่มีมูลค่าการนำเข้าและส่งออกสูงที่สุด 10 อันดับของจีน Heilongjiang Jilin 9 21,738 4 Liaoning 52,509 Xinjiang Beijin 8 Inner Mongolia 22,755 Gansu Tianjin 10 6,667 Hebei 6 Shanxi 33,936 Ningxia Shandong Qinghai 3 70,297 Henan 2 Jiangsu 72,641 Shaanxi Shanghai Anhui Tibet Hubei Sichuan 5 41,961 Zhejiang Chongqing Jiangxi Hunan 7 28,399 Guizhou Fujian Yunnan 1 221,105 Guangxi Guangdong = มูลค่าการนำเข้าและส่งออก Hainan (ล้านเหรียญสหรัฐ)
สิ่งของที่เป็นเครื่องแสดงฐานะของชาวจีน….สิ่งของที่เป็นเครื่องแสดงฐานะของชาวจีน…. • ยุค เหมา เจ๋อตุง (พ.ศ. 2492 - 2519)
ปัจจุบัน : (ยุคของ เจียง เจ๋อ หมิน)
เส้นทางน้ำ เชื่อมเศรษฐกิจจีนและอนุภูมิภาค
เส้นทางน้ำ เชื่อมเศรษฐกิจจีนและอนุภูมิภาค
2. โครงการพัฒนาภาคตะวันตกของจีน
China’s “Go West” Campaign • บรรจุในแผนพัฒนาแห่งชาติระยะยาว ตั้งแต่ปี 2000 • ดำเนินตามแนวทางพัฒนาประเทศของอดีตผู้นำเติ้ง เสี่ยวผิง • พื้นที่ประมาณ 5.4 ล้านตารางกิโลเมตร (มากกว่า 50% ของจีน หรือ ใหญ่กว่าประเทศไทยประมาณ 10 เท่า) • ประกอบด้วยมณฑลและเขตปกครองตนเองจำนวน 9 แห่ง ได้แก่ ซินเจียง ทิเบต ชิงไห่ กันซู หนิงเซีย กุ้ยโจว ฉานซี เสฉวน และ ยูนนาน และมหานครที่ไม่ขึ้นตรงต่อมณฑลอีก 1 แห่งคือ มหานครฉงชิง • ประชากร 285 ล้านคน (มากกว่า 110 ล้านคนอยู่ใน เสฉวน และ ฉงชิ่ง) • เป็นแหล่งเพาะปลูกพืชผล และผลิตเนื้อสัตว์ที่สำคัญ ตลอดจนอุดมด้วยทรัพยากร อาทิ แร่ธาตุ และพลังงาน • เป็นศูนย์กลางของการวิจัย ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
จุดเด่นของจีนตะวันตก • เป็นตลาดขนาดใหญ่ ประชากรรวมเกือบ 300 ล้านคน โดยเฉพาะบริเวณ ฉงชิ่ง-เสฉวน 110 ล้านคน (ยูนนาน 45 ล้านคน) • ค่าจ้างแรงงานต่ำกว่าในมณฑลกวางตุ้งถึงร้อยละ 40 • อุดมด้วยพลังงานไฟฟ้าพลังน้ำและ พลังงานแก๊สธรรมชาติ ซึ่งถือว่าเป็นพลังงานราคาถูก และมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย • เศรษฐกิจขยายตัวอย่างรวดเร็ว เนื่องจากอยู่ในแผนพัฒนาแห่งชาติ • การเร่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) • อยู่ไม่ไกลจากประเทศไทย และในอนาคตจะสามารถติดต่อได้โดยสะดวก
Minerals Distribution Distribution of major minerals found in China % of China MineralsEastern regionCentral regionWestern region Chrome 12.5 7.1 80.4 Iron 47.0 27.9 25.1 Gold 27.6 47.5 24.9 Silver 24.1 45.3 30.6 Nickel 0.8 9.8 89.4 Lead 25.6 31.1 43.3 Zinc 21.3 31.6 47.1 Copper 10.5 37.2 52.3 Aluminum 4.4 58.8 36.8 Phosphorous 8.5 38.1 53.4 Source: Central and Western Regions Development Yearbook 1996
Energy Distribution - W.China Source: Hong Kong Trade Development Council - Go West Resource
ตัวอย่างของโครงการพัฒนาภาคตะวันตกตัวอย่างของโครงการพัฒนาภาคตะวันตก • Infrastructure • ท่อก๊าซธรรมชาติ ซินเจียง-เซี่ยงไฮ้ ระยะทาง 4,200 กิโลเมตร • สร้างทางรถไฟ ซีอาน-หนานจิง เชื่อมภาคตะวันออกและตะวันตก • สร้างทางรถไฟ ฉงชิ่ง-หูหนาน • สร้างทางหลวงในภาคตะวันตกระยะทางรวม 17,000 กิโลเมตรในปี 2000 • สร้างทางหลวงอีก 150,000 กิโลเมตรภายใน 10 ปี รวมทั้งทางด่วน 8 สาย • สร้างท่าอากาศยานซีอาน-เซี่ยงหยาง • ทางรถไฟขนส่งมวลชนสำหรับมหานครฉงชิ่ง • โครงการชลประทานขนาดใหญ่ในเสฉวน ครอบคลุมพื้นที่เพาะปลูก 480,000 ไร่ • โครงการผลิตแร่โปแต๊ชในมณฑลชิงไห่ • ปรับปรุงสภาวะแวดล้อม • โครงการปลูกป่าของรัฐในภาคตะวันตก 2.1 ล้านไร่ • โครงการชักชวนเกษตรกรในการปลูกป่า/ทุ่งหญ้า 4.9 ล้านไร่ • โครงการอุปถัมภ์มหาวิทยาลัยและสถาบันศึกษาขั้นสูงในภาคตะวันตก
3. มหานครฉงชิ่ง (จุงกิง) • “ฉงชิ่ง” - หรือ “จุงกิง” เคยเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์กว่า 3,000 ปี • เป็นเมืองสำคัญของอาณาจักร “ง่อก๊ก”(ฝ่ายซุนกวน) ในประวัติศาสตร์ของสามก๊ก • ปัจจุบันแยกออกจากมณฑลเสฉวน เป็นมหานครอิสระแห่งที่ 4 ตั้งแต่ มี.ค. 1997 • อาณาเขต 82,403 ตร.กม. (1 ใน 6 ของไทย) และมีประชากรรวม 31 ล้านคน • GDP per capita (Yr.2000) 5,146 RMB หรือน้อยกว่าครึ่งของมณฑลทางภาคตะวันออก
Why Chongqing? • เป็นศูนย์กลางของการขนส่งทางบก ทางน้ำและทางอากาศ • ในอนาคต โครงการก่อสร้างทางด่วน เฉิงตู-ฉงชิ่ง-ยูนนาน การสร้างระบบขนส่งมวลชน การขยายสนามบิน และพัฒนาเส้นทางน้ำ • เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมหลายชนิด โดยเฉพาะการผลิตรถยนต์ (219,000 คัน ในปี 1999) และจักรยานยนต์ (1.75 ล้านคัน) • ให้สิทธิพิเศษในการเข้าไปลงทุน อาทิ การลดหย่อน หรือยกเว้นภาษี ให้เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ ตลอดจนเงินอุดหนุนอื่นๆ • กำหนดเขต Economic & Technological Development Zone - ETDZ ถึง 2 แห่ง รวมพื้นที่ 40 ตร. กม.
แม่น้ำแยงซีเกียง - เส้นทางขนส่งสินค้าสู่จีนตะวันตก Xiling, Wu และ Qutang โตรก (Gorges)
โครงการสร้างเขื่อนสามโตรก - Three Gorges Project (TGP)
Three Gorges Project (TGP) - เขื่อนสามโตรก • โครงการก่อสร้างที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของจีนนับตั้งแต่การสร้างกำแพงเมืองจีน • ใช้เวลาก่อสร้าง 17 ปี (กำหนดแล้วเสร็จในปี 2009) • ฐานกว้าง 2.4 กิโลเมตร สูง 180 เมตร • ทำให้เกิดทะเลสาบที่มีความยาว 600 กิโลเมตร ประชากร 1.3 ล้านคนจะต้องโยกย้ายถิ่นฐาน • ประกอบด้วยเครื่องเทอร์ไบน์ 26 ตัว ซึ่งจะสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ถึง 18.2 ล้านกิโลวัตต์ (หรือเท่ากับโรงงานผลิตกระแสพลังนิวเคลียร์ 18 โรง) • ปริมาณคอนกรีตที่ใช้ 26.43 ล้านคิวบิกเมตร หรือมากกว่า 2 เท่าของปริมาณที่ใช้ กับเขื่อนที่ใหญ่ที่สุดในโลกปัจจุบัน (เขื่อน Itaipu - Brazil)
ป้องกันน้ำท่วมใหญ่บริเวณลุ่มแม่น้ำแยงซีเกียงป้องกันน้ำท่วมใหญ่บริเวณลุ่มแม่น้ำแยงซีเกียง ผลิตกระแสไฟฟ้า เพื่อรองรับโครงการพัฒนาภาคตะวันตก เรือเดินสมุทรขนาด 10,000 ตัน สามารถเข้าถึงใจกลางของจีน - นครฉงชิ่ง (2,500 Km) ทะเลสาบขนาด 632 ตร.กม. จุน้ำ 40,000 ล้าน ลบ.ม. สำหรับอุปโภค บริโภค และชลประทาน ที่สำคัญ การพัฒนาเศรษฐกิจจีนให้ขยายตัวในอัตราสูงอย่างต่อเนื่อง ขึ้นอยู่กับความสำเร็จของโครงการ TGP ทำไมจีนจึงต้องสร้างเขื่อนขนาดยักษ์ TGP ?
บทสรุป • จีนกำหนดใช้นโยบายแห่งชาติ ในการเปิดประเทศและพัฒนาภาคตะวันตกตามแนวทางของอดีตผู้นำ เติ้ง เสี่ยวผิง • ภาคตะวันตกของจีนเป็นแหล่งของการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ตลอดจนการค้า และการลงทุน • โครงการก่อสร้างขนาดใหญ่หลายโครงการ เช่น โครงการสร้างทางหลวง และโครงการสร้างเขื่อน TGP จะทำให้เศรษฐกิจภาคตะวันตกของจีนขยายตัวอย่างต่อเนื่อง • เนื่องจากฉงชิ่งกำลังจะกลายเป็นศูนย์กลางของความเจริญในภูมิภาค ไทยจึงควรตั้งเป้าหมายการค้า การลงทุนไปยังมหานครดังกล่าว • การพัฒนามณฑลภายในของจีนใช้รูปแบบของการพัฒนาภาคกลาง (Midwest) ของสหรัฐฯ ที่กำหนดให้นครชิคาโกเป็นศูนย์กลาง
เปรียบเทียบสถานภาพเศรษฐกิจไทย-จีนเปรียบเทียบสถานภาพเศรษฐกิจไทย-จีน
เปรียบเทียบสถานภาพเศรษฐกิจไทย-จีน (ต่อ) (ปี 2544)
จีนเข้า WTO กับผลกระทบต่อไทย • 1. ต่อเศรษฐกิจ • การค้า • การลงทุน • การท่องเที่ยว • 2. ทางบวก • 2.1 ความสัมพันธ์ไทย-จีน กว้างมากขึ้น ทั้ง 3 ด้าน • - ตลาดสินค้าและบริการ ลดข้อจำกัดนำเข้าทั้งภาษีและไม่ใช่ภาษี • - การลงทุน กฎระเบียบสู่สากลมากขึ้น • - การท่องเที่ยว ให้อิสระภาพคนจีนสู่โลกสากล • 2.2 เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจภายใต้ WTO คนจีนรวยมากขึ้น
3. ทางลบ • 3.1 เกิดการแข่งขันจากสินค้าจีนมากขึ้น • - ภายในตลาดจีน • - ในตลาดประเทศที่สาม • 3.2 แนวทางการเลี่ยงแข่งขันกับจีน
Chongqing เชียงรุ่ง (Jinghong) 4,000 กม. 2,800 กม. เชียงราย
อ.แม่สาย พม่า สปป.ลาว ท่าขี้เหล็ก 1290 1129 1 เมืองต้นผึ้ง 1016 เมืองห้วยทราย แขวงบ่อแก้ว อ.เชียงแสน อ.เชียงของ 1271 1174 1098 1020 เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน จ.เชียงราย
PRC Vietnam JInhong Daluo Mengla Dienbienfu Kyaington Boten Myanmar Luangnamtha Muangxai Viengpuka Tachilek Lao PDR Mae Sai Huai Sai Chiang Saen Chiangkong Luang Prabang Pak Beng Chiang Rai Huaykhon (Nan) Xaiyabuli Phayao Planned Roads Connecting Thailand-Northern Lao PDR / Myanmar- PR China Chiangmai น่าน
เหลี่ยมเศรษฐกิจ ห้าเหลี่ยมเศรษฐกิจ (BIMST - EC) สี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ (QUADRANGLE) หกเหลี่ยมเศรษฐกิจ (GMS) สามเหลี่ยมเศรษฐกิจ (IMT - GT)
China’s trade with its major partners in recent years (Billion US$) 1999 2000 23.48 30.53 25.04 83.17 66.17 34.5 27.04 39.52 74.47 43.78 53.95 61.43 55.68 69.04
China’s trade with its major partners in recent years (Billion US$) 2002(Jan-Aug) 2001 32.34 27.49 87.75 69.91 35.91 26.68 41.62 33.29 65.41 55.97 80.49 43.24 76.63 54.39