170 likes | 414 Views
ยินดีต้อนรับ. คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจ การพาณิชย์และอุตสาหกรรม วุฒิสภา. วันจันทร์ที่ 13 ตุลาคม 2551. เวลา 10.30 น. ณ ห้องกิติยา กรวร ลักษณ์. 1. Ministry of Commerce. โครงสร้างองค์กร. กระทรวงพาณิชย์. สำนักงานเลขานุการัฐมนตรี. สำนักงานเลขานุการรัฐมนตรี. นโยบาย/อำนวยการ. นโยบาย/อำนวยการ.
E N D
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจ การพาณิชย์และอุตสาหกรรม วุฒิสภา วันจันทร์ที่ 13 ตุลาคม 2551 เวลา 10.30 น. ณ ห้องกิติยากรวรลักษณ์ 1 Ministry of Commerce
โครงสร้างองค์กร กระทรวงพาณิชย์ สำนักงานเลขานุการัฐมนตรี สำนักงานเลขานุการรัฐมนตรี นโยบาย/อำนวยการ นโยบาย/อำนวยการ กลุ่มภารกิจในประทศ กลุ่มภารกิจในประทศ กลุ่มภารกิจต่างประทศ กลุ่มภารกิจต่างประทศ สำนักงานปลัดกระทรวง สำนักงานปลัดกระทรวง กรมการค้าภายใน กรมการค้าภายใน กรมการค้าต่างประเทศ กรมการค้าต่างประเทศ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กรมทรัพย์สินทางปัญญา กรมส่งเสริมการส่งออก กรมส่งเสริมการส่งออก *สำนักงานเศรษฐกิจการพาณิชย์ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กรมเจรจาการค้า ระหว่างประเทศ กรมเจรจาการค้า ระหว่างประเทศ หน่วยงานในการสนับสนุน องค์กรมหาชน รัฐวิสาหกิจ ศศป. ตสล. กสล. อคส. สวอ. 2 * แบ่งส่วนราชการภายใน
กฏหมายหลัก • พรบ.แข่งขันทางการค้าพ.ศ. 2542 • พรบ.ราคาสินค้าและบริการพ.ศ. 2542 • พรบ.ชั่งตวงวัด พ.ศ. 2542 • ประกาศคณะปฏิวัติ (58) เงือนไขการควบคุมกิจการคลังสินค้าคลังสินค้า พ.ศ. 2499 • พรบ.ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า พ.ศ. 2542 • พรบ.เกี่ยวกับสินค้ามาตรฐานและมาตรฐานสินค้า • พรบ.เกี่ยวกับการตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุน • พรบ.เกี่ยวกับการส่งออก-นำเข้า • พรบ. กำหนดความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด สมาคม และมูลนิธิ พ.ศ. 2499 • พรบ. ทะเบียนพาณิชย์พ.ศ. 2499 • พรบ. บริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 • พรบ. การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 • พรบ. การบัญชี พ.ศ. 2543 • พรบ. วิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 • พรบ. สมาคมการค้า พ.ศ. 2509 • พรบ. หอการค้า พ.ศ. 2509 • พรบ.ทรัพยสินทางปัญญา • พรบ. สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2537 คน. คต. ประกาศกระทรวง พค. กฏกระทรวง กฏหมายที่เกี่ยวข้อง ทป. สอ. 3
หน่วยงานในสังกัด ส่วนภูมิภาค ส่วนต่างประเทศ • สำนักงานพาณิชย์จังหวัด (75) • สำนักงานการค้าภายในจังหวัด (75) • สำนักงานสาขาชั่งตวงวัดเขต (27) • สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้า (75) • ศูนย์ส่งเสริมการส่งออก (5) • สำนักงานการค้าต่างประเทศ (6) • สำนักงานพาณิชย์ในต่างประเทศ 4 แห่ง • สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ56 แห่ง • ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ทางการค้า 36 คน • (Honorary Trade Advisors) ส่วนกลาง 4
หน่วยงานในต่างประเทศ อเมริกาเหนือ 7 1 ยุโรป จีน 1 14 1 6 1 เอเชียตะวันออก 5 5 อาเซียน และแปซิฟิก ลาตินอเมริกา เอเชียใต้ 10 แอฟริกาใต้ 4 2 3 คณะผู้แทนถาวรไทยประจำองค์การการค้าโลก 1 แห่ง สำนักงานพาณิชย์ในต่างประเทศ 3 แห่ง สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ 56 แห่ง 5
หน่วยงานในภูมิภาค 75 จังหวัด • สำนักงานพาณิชย์จังหวัด • สำนักงานการค้าภายในจังหวัด • สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัด ศูนย์ส่งเสริมการส่งออก 5 แห่ง สำนักงานการค้าต่างประเทศ 6 แห่ง สำนักงานช่างตวงวัด 23 แห่ง 6
วิสัยทัศน์ พันธกิจ2552-2554 พันธกิจ สร้างรายได้เข้าสู่ประเทศ วิสัยทัศน์ “เป็นกระทรวงผู้นำใน การขับเคลื่อนเศรษฐกิจการค้าของประเทศและผลักดันให้ประเทศไทย เป็นหนึ่งในศูนย์กลางการค้าชั้นนำของภูมิภาคเอเชีย” สร้างความแข็งแกร่ง ให้ระบบเศรษฐกิจการค้าของประเทศ และเพิ่มโอกาสให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจ รักษาความเป็นธรรม ทางการค้าและพิทักษ์ผลประโยชน์ให้แก่ผู้บริโภค พัฒนาและจัดระบบการค้า ให้รองรับการเป็นศูนย์กลาง การค้าในภูมิภาค 7
MOC’s Policies 1. ส่งเสริมบรรยากาศทางการค้า (สร้างสนามการค้า) โดยให้ทูตพาณิชย์ในต่างประเทศเป็นผู้ผลักดันการขยายตลาดการค้าในต่างประเทศ 7. ผลักดันการส่งออกสินค้าและธุรกิจบริการของไทยในตลาดโลก 2. เน้นการทำงานเชิงรุกและเป็นทีม ทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนต่างประเทศ 6. ให้ความสำคัญกับกฎหมาย กฎระเบียบการค้าต่าง ๆ ปรับให้สอดคล้องและรองรับกับสถานการณ์ปัจจุบัน 3. ให้พาณิชย์จังหวัด ติดตามดูแลราคาสินค้าเกษตร ให้เกษตรกรได้รับความเป็นธรรม อย่าให้พ่อค้าคนกลางเป็นผู้กำหนดราคา 5. ให้ความสำคัญเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับด้านการค้าต่างประเทศ 4. ดูแลราคาสินค้าอุปโภคบริโภค 8
กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ 2552-2554 ขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยการเพิ่มส่วนแบ่งตลาด และมุ่งส่งเสริมธุรกิจบริการ ผลิตสินค้าและการบริการ ตามความต้องการของตลาด ส่งเสริมธุรกิจไทยสู่สากล มุ่งสร้าง Supply Chain & Value Creation เสริมสร้างองค์ความรู้ด้านทรัพย์สินทางปัญญาให้เกิดผลประโยชน์ต่อ ผู้ประกอบธุรกิจไทย เพิ่มโอกาสการเข้าสู่ตลาด และบูรณาการเครือข่ายธุรกิจเข้าสู่ทุกภูมิภาคในต่างประเทศ พัฒนา SMEs และ สินค้า OTOP อย่างครบวงจร พัฒนาและเสริมสร้างตลาดภายในประเทศให้มีการแข่งขัน ที่เสรีและเป็นธรรม คุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับความเป็นธรรมทั้งด้านราคา และปริมาณได้อย่างครบถ้วนและเพียงพอ ใช้ข้อตกลงทางการค้าให้เกิดประโยชน์ และเป็นการเพิ่มทางเลือก พัฒนา Logistic การค้าให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น มุ่งพัฒนาตลาดสินค้าเกษตร และเพิ่มมูลค่าทางการค้า วัตถุประสงค์ ทิศทางการดำเนินงาน สร้างความแข็งแกร่งให้ตลาดภายในประเทศ 1 • พาณิชย์เป็นทัพหน้าทางการค้า • เชื่อมโยงการค้าในประเทศสู่สากล • มุ่งแน้นการเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้ประเทศ • มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจการค้าให้เติบโตอย่างมีเสถียรภาพด้วย อุปสงค์ภายในประเทศ • มุ่งพัฒนานโยบายการแข่งขันทางการค้าให้เกิดผล เสริมสร้างประสิทธิภาพทางการพาณิชย์ • เน้นแนวทางการมองตลาดภายในประเทศเป็นเศรษฐกิจอาเซียน 2 ส่งเสริมธุรกิจไทยสู่สากล 3 ส่งเสริม การส่งออก 4 สนับสนุนการ กระจายรายได้และ ให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น 5 มุ่งเน้นการค้าเสรีและเป็นธรรมให้เกิดประโยชน์ต่อผู้บริโภคและผู้ผลิต 9
อยู่ระหว่างการเจรจา อยู่ระหว่างการเจรจา อยู่ระหว่างการเจรจา อยู่ระหว่างการเจรจา อยู่ระหว่างการเจรจา สถานะการเจรจา FTA ของไทย Single Undertaking ไทย-ญี่ปุ่น ใช้บังคับ 1 พฤศจิกายน 2550 ไทย-ออสเตรเลีย ใช้บังคับ 1 มกราคม 2548 ไทย-นิวซีแลนด์ ใช้บังคับ 1 กรกฎาคม 2548 ไทย-เปรู ลงนามในพิธีสารเพื่อเร่งเปิดเสรีทางการค้าและการอำนวยความสะดวกทางการค้า ไทย-EFTA อยู่ระหว่างการเจรจา แยกความตกลงเป็นฉบับย่อยๆ ความตกลงว่าด้วย: สินค้า บริการ ลงทุน ไทย-อินเดีย 82 รายการ (1 ก.ย. 2547) BIMSTEC 10
นโยบายการส่งเสริมการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม ป้องกันการผูกขาด 1 มาตรการลดภาระค่าครองชีพ : ธงฟ้า 2 การดูแลสินค้าปลายทาง ณ แหล่งจำหน่าย ดูแลสินค้าต้นทางราคา ณ โรงงาน 3 4 มาตรการตรวจสอบภาวะราคาและปริมาณสินค้า 5 มาตรการการมีส่วนร่วมกับภาคประชาชน : ตลาดสดดีเด่น 11
นโยบายด้านการส่งเสริมการค้าชายแดนนโยบายด้านการส่งเสริมการค้าชายแดน อำนวยความสะดวกทางด้านการค้าและการลงทุนในกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ในภูมิภาค 1 ความร่วมมือทางเศรษฐกิจสามฝ่าย 2 ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี เจ้าพระยา แม่โขง 3 12
ประเด็น การสร้างความมั่นใจให้ผู้ประกอบการด้านการคุ้มครอง ทรัพย์สินทางปัญญา 1 ป้องปรามการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อสร้างความเป็นธรรมทางการค้า 2 ส่งเสริมและสร้างความมั่นใจให้ผู้ประกอบการเข้าสู่ระบบคุ้มครองสิทธิทรัพย์สินทางปัญญา ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการมีการสร้างสรรค์และการใช้ประโยชน์ทรัพย์สินทางปัญญาในเชิงพาณิชย์ 3 13
แนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศในปัจจุบัน 1 พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งให้เศรษฐกิจภายในประเทศ 2 การส่งออก - ไปยังตลาดใหม่ - ช่วยเหลือด้านแหล่งเงินทุน - สร้างความเชื่อมั่นในคุณภาพสินค้า เร่งสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้นำเข้าและนักลงทุนในต่างประเทศ 3 4 การดูแลภาวะราคาสินค้า 14
แนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศในปัจจุบัน 1 พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งให้เศรษฐกิจภายในประเทศ 2 การส่งออก - ไปยังตลาดใหม่ - ช่วยเหลือด้านแหล่งเงินทุน - สร้างความเชื่อมั่นในคุณภาพสินค้า เร่งสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้นำเข้าและนักลงทุนในต่างประเทศ 3 4 การดูแลภาวะราคาสินค้า 15
Q & A 16 Ministry of Commerce