1 / 37

การแกว่ง (Oscillation)

การแกว่ง (Oscillation). คือ การเคลื่อนที่กลับไปมา ซ้ำรอยเดิมในช่วงเวลาเท่ากัน. ตัวอย่าง. การแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา. การสั่นของมวลติดปลายสปริง. การสั่นของโมเลกุลในอากาศ. การสั่นของเส้นลวด. การแกว่งของกระแสหรือประจุไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าที่ประกอบด้วยขดลวดเหนี่ยวนำและตัวเก็บประจุ.

Download Presentation

การแกว่ง (Oscillation)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การแกว่ง (Oscillation) คือ การเคลื่อนที่กลับไปมา ซ้ำรอยเดิมในช่วงเวลาเท่ากัน ตัวอย่าง การแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา การสั่นของมวลติดปลายสปริง การสั่นของโมเลกุลในอากาศ การสั่นของเส้นลวด การแกว่งของกระแสหรือประจุไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าที่ประกอบด้วยขดลวดเหนี่ยวนำและตัวเก็บประจุ ความหนาแน่นของอากาศที่ถูกอัดและขยายเมื่อคลื่นเสียงผ่าน การแกว่งของสนามไฟฟ้า เช่น คลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ แสง

  2. การสั่นของสาย

  3. ถ้าอนุภาคหรือวัตถุ ถูกแรงภายนอกกระทำตลอดเวลา ไม่ว่าวัตถุจะอยู่นิ่งหรือเคลื่อนที่ เรากล่าวว่า วัตถุอยู่ภายใต้สนามของแรงนั้น เช่น มนุษย์อยู่ภายใต้สนามแรงโน้มถ่วงของโลก วัตถุห้อยปลายสปริง ประจุไฟฟ้าในสนามไฟฟ้า

  4. สนามของแรงแบ่งเป็น 2 แบบ สนามแรงสถิตย์(Static field) สนามแรงไม่สถิตย์(non Static field) คือ สนามของแรงที่เปลี่ยนตามเวลา เช่น อิเล็กตรอนอิสระในสนามไฟฟ้าสลับ การขั้นลงของเรื่อกลางทะเลที่กำลังมีคลื่น คือ สนามของแรงที่ขึ้นกับตำแหน่งเพียงอย่างเดียว ไม่ขึ้นกับเวลา เช่น สนามของแรงโน้มถ่วง สนามแรงสปริง สนามแรงบิดของเส้นลวด

  5. การแกว่งที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ หรือ ที่มนุษย์สร้างขึ้น จะมีรากฐานจากการแกว่งหรือ การสั่นแบบหนึ่ง เรียกว่า “ซิมเปิลฮาร์โมนิค”(Simple Harmonic Motion ; S.H.M)

  6. การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิค คือการสั่นหรือแกว่งกลับไปมาซ้ำรอยเดิม โดยมีอัมปลิจูดคงที่ และช่วงเวลาการแกว่งแต่ละรอบ ( คาบ ) เท่ากัน

  7. ดูโปรแกรมการเคลื่อนที่S.H.Mดูโปรแกรมการเคลื่อนที่S.H.M

  8. ไกลสุด ไกลสุด แนวสมดุล

  9. แนวสมดุล ไกลสุด 1 การกระจัดไปทางขวา ขนาดเพิ่มขึ้น 2 ความเร็วไปทางขวา ขนาดลดลง 3 ความเร่งไปทางซ้าย ขนาดเพิ่มขึ้น

  10. แนวสมดุล ไกลสุด 1 การกระจัดไปทางขวา ขนาดลดลง 2 ความเร็วไปทางซ้าย ขนาดเพิ่มขึ้น 3 ความเร่งไปทางซ้าย ขนาดลดลง

  11. แนวสมดุล ไกลสุด ไกลสุด 1 การกระจัดไปทางซ้าย ขนาดเพิ่มขึ้น 2 ความเร็วไปทางซ้าย ขนาดลดลง 3 ความเร่งไปทางขวา ขนาดเพิ่มขึ้น

  12. แนวสมดุล ไกลสุด ไกลสุด 1 การกระจัดไปทางซ้าย ขนาดลดลง 2 ความเร็วไปทางขวา ขนาดเพิ่ม • ความเร่งไปทางขวา ขนาดลดลง

  13. ไกลสุด แนวสมดุล ไกลสุด สรุปการเคลื่อนที่แบบS.H.M 1 ทิศความเร่งตรงข้ามกับทิศการกระจัด เสมอ 2 จุดสมดุล ความเร็วมากสุด ความเร่งเป็นศูนย์ 3 จุดไกลสุด ความเร็วเป็นศูนย์ ความเร่งมากสุด 4 จุดห่างจากแนวสมดุลเท่ากัน ขนาดความเร็วเท่ากัน ขนาดความเร่งเท่ากัน แต่ความเร็วและความเร่งไม่เท่ากัน ( เพราะทิศตรงกันข้าม )

  14. ไกลสุด แนวสมดุล ไกลสุด จุดไกลสุด การกระจัดมากสุด อัตราเร็วเป็นศูนย์ อัตราเร่งมากสุด จุดสมดุล การกระจัดเป็นศูนย์ อัตราเร็วมากสุด อัตราเร่งเป็นศูนย์ ความเร็วมีทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ ความเร่งมีทิศตรงข้ามกับทิศการกระจัด เสมอ

  15. การกระจัด เวลา

  16. ความเร็ว เวลา

  17. ความเร่ง เวลา

  18. กราฟเปรียบเทียบการเคลื่อนที่S.H.M.กราฟเปรียบเทียบการเคลื่อนที่S.H.M.

  19. มุมเฟส(Phase) เป็นค่ามุม ที่สื่อไปถึงลักษณะการเคลื่อนที่

  20. จำนวนรอบใน 1 วินาที สมการ ขนาดการกระจัด ณ เวลาใด ๆ คาบ คือ เวลาที่แกว่ง 1 รอบ มุมเฟส ขณะเริ่มต้นแกว่ง อัมปลิจูด หรือ ช่วงแกว่งไกลสุด หน่วย เมตร

  21. มุมเฟสเริ่มต้น กรณีต่าง ๆ

  22. มุมเฟสเริ่มต้น กรณีต่าง ๆ

  23. สมการ อัตราเร็ว หรือ ขนาดความเร็ว ณ เวลาใด ๆ พิสูจน์ ทิศความเร็ว หาได้จากความเข้าใจ

  24. หรือ สมการอีกแบบหนึ่ง ขนาดความเร็ว หรือ อัตราเร็ว ณ จุดใด ๆ ขนาดการกระจัด หรือ ระยะไกลสุด อัตราเร็วเชิงมุม หน่วย รอบต่อวินาที ขนาดการกระจัด ที่ จุดใด ๆ ส่วนทิศความเร็ว ให้หาจากความเข้าใจ

  25. สมการ อัตราเร่ง หรือ ขนาดความเร่ง ณ เวลาใด ๆ พิสูจน์ ส่วนทิศความเร่ง ให้หาจากความเข้าใจ

  26. หรือ สมการอีกแบหนึ่ง ขนาดความเร่ง ที่จุดใด ๆ ขนาดการกระจัด ที่ จุดใด ๆ ส่วนทิศความเร่ง ให้หาจากความเข้าใจ

  27. คาบ คือ เวลาที่เคลื่อนที่ครบ 1 รอบ มีหน่วย วินาที

  28. พลังงานของอนุภาคที่เคลื่อนที่แบบS.H.Mพลังงานของอนุภาคที่เคลื่อนที่แบบS.H.M พลังงานจลน์ ที่จุดใด ๆ พลังงานศักย์ ที่จุดใด ๆ เมื่อ เป็นขนาดการกระจัด ที่จุดนั้น

  29. พลังงานรวมทั้งหมด ขณะอนุภาคอยู่ที่จุดใด ๆ พิสูจน์ โปรดสังเกตว่า พลังงานรวมที่จุดต่างๆ เท่ากัน

  30. จุดไกลสุด พลังงานจลน์เป็นศูนย์ พลังงานศักย์มากสุด จุดสมดุล พลังงานจลน์มากสุด พลังงานศักย์เป็นศูนย์

  31. ตัวอย่างที่ อนุภาคมวล 1 กิโลกรัม เคลื่อนที่แบบ S.H.M. มีช่วงสั่นไกลสุด 10cmความถี่ 20 Hz จงหา 1 แต่ละรอบใช้เวลากี่วินาที ตอบ 2 อัตราเร็วมากสุดเท่าไร และเมื่อวัตถุอยู่จุดใด ที่จุดสมดุล อัตราเร็วมากสุด ตอบ

  32. 3 อัตราเร่งมากสุดเท่าไร ที่จุดใด ที่จุดไกลสุด อัตราเร่งมากสุด ตอบ

  33. 4จุดที่ห่างจากสมดุล 4 cm ไปทางขวา มีความเร็วและความเร่งเท่าใด ตอบ ความเร็ว 0.11592 m/s ไปทางขวา ความเร่ง 0.0504 m/s2 ไปทางซ้าย ตอบ

  34. 5 จงหาพลังงานจลน์มากสุด และพลังงานศักย์มากสุด จุดสมดุล พลังงานจลน์มากสุด หรือ จุดไกล พลังงานศักย์มากสุด

  35. 6 จุดที่ห่างจากสมดุล 4 cm มีพลังงานจลน์ พลังงานศักย์ พลังงานรวมเท่าใด

More Related