1 / 115

แนวทาง (ฉบับร่าง) ระบบประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ (State Enterprise Performance Appraisal – SEPA)

แนวทาง (ฉบับร่าง) ระบบประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ (State Enterprise Performance Appraisal – SEPA). ศุภชัย เมืองรักษ์ ผู้อำนวยการฝ่ายปรึกษาแนะนำด้านการจัดการองค์กร. หลักการสำคัญ ของโครงการ TQA-HPO. ORGANS / ORGANIZATION. HPO High Performance Organization : Good Governance

ima
Download Presentation

แนวทาง (ฉบับร่าง) ระบบประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ (State Enterprise Performance Appraisal – SEPA)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทาง (ฉบับร่าง) ระบบประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ (State Enterprise Performance Appraisal – SEPA) ศุภชัย เมืองรักษ์ ผู้อำนวยการฝ่ายปรึกษาแนะนำด้านการจัดการองค์กร

  2. หลักการสำคัญ ของโครงการ TQA-HPO

  3. ORGANS / ORGANIZATION HPO High Performance Organization : Good Governance Organization

  4. New Public Management : การบริหารมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ (RBM) Total Quality & Strategic Management PMQA: Public Sector Management Quality Award OG :Organizational Governance งาน HPO & GGO เงิน คน PART: Performance Assessment Rating Tool VFM: Value for Money SPBB: Strategic Performance Based Budgeting HR & Individual Scorecard CBM: Competency Base Management PBM: Performance Base Management

  5. Organizational Excellence Model TQM Total Quality Management MBNQA Malcolm Baldrige National Quality Award TQA Thailand Quality Award PMQA Public Sector Management Quality Award SEPA State Enterprise Performance Appraisal

  6. การจัดการเชิงกลยุทธ์ TQA/SEPA TQM Concept TQA/SEPA Framework Criteria / Score (Assessment Tool) Management Concept Strategic Planning (SWOT/Map/Card) Assessment Report (SW) Improvement Plan (Tools & Standards)

  7. ความเชื่อมโยงของการพัฒนา กับ เกณฑ์ SEPA PMQA Model SEPA (Organizational Excellence Model) P.ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  8. คุณประโยชน์กับ เกณฑ์ SEPA วิธีการ ผลลัพธ์ เป้าหมาย เกณฑ์คุณภาพเป็นตัวช่วยผลักดัน วิสัยทัศน์ 5 7 2 การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล ประสิทธิผล 1 การนำ องค์กร คุณภาพ 3 6 การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจัดการ กระบวนการ ประสิทธิภาพ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ พัฒนาองค์กร

  9. การจัดการคุณภาพและกลยุทธ์การจัดการคุณภาพและกลยุทธ์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ การเปลี่ยนแปลง • ปัจจัยภายนอก • เศรษฐกิจ • สังคม • การเมือง • ธรรมชาติ • ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Strategic BSC HRM HRD ปัจจัยภายใน ธรรมาภิบาล Vision Values Goal การวางแผน กลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล การนำองค์กร ผลลัพธ์ การจัดการ กระบวนการ การมุ่งเน้นลูกค้า และตลาด CRM Customer Survey HA HPH ISO QC วัด วิเคราะห์ สารสนเทศ และจัดการความรู้ MIS DSS KM

  10. ความเชื่อมโยงของระบบจัดการ กับ เกณฑ์ SEPA ระบบบริหาร ความเสี่ยง นโยบายบุคลากร HRM / HRD เป้าหมายตาม ยุทธศาสตร์ ระบบ HPO RBM/BSC ระบบธรรมาภิบาล 2 การวางแผน ยุทธ์ศาสตร์ ระบบติดตาม โดยผู้ตรวจ 5 การมุ่งเน้น บุคลากร เกณฑ์คุณภาพ 1 การนำ องค์กร 7 ผลลัพธ์ องค์กร 3 การมุ่งเน้น ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้เสีย 6 การจัดการ กระบวนการ ระบบประเมิน แผนงานโครงการ ระบบงบประมาณ 4 การวัด วิเคราะห์ สารสนเทศ และการจัดการความรู้ ระบบ Service Mind ระบบ ISO/STD ระบบ MIS/ BM/ KM

  11. Path to Competitiveness SWOT analysis P 1 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม Strategy Map/Card P 2 การจัดวางทิศทางขององค์กร แผนระยะสั้น แผนระยะยาว กระบวนการบริหาร เชิงกลยุทธ์ P 3 การกำหนดแผนกลยุทธ์ ถ่ายทอด เตรียมคน เตรียมทรัพยากร D 4 การปฏิบัติงานตามกลยุทธ์ ติดตาม ประเมิน สรุปบทเรียน ปรับปรุง C 5 การควบคุมเชิงกลยุทธ์ A

  12. หลักการสำคัญของเกณฑ์ SEPA

  13. เกณฑ์ประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ กรอบการบริหารรัฐวิสาหกิจสู่ความเป็นเลิศ บริบทของรัฐวิสาหกิจ สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2 การวางแผนวิสาหกิจ 5 การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1 การนำองค์กรรัฐวิสาหกิจ 7 ผลลัพธ์ทางธุรกิจ 3 การมุ่งเน้นลูกค้า/ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6 การจัดการ กระบวนการ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  14. เป้าประสงค์ ความเป็นมาตรฐาน สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ และเป็นเครื่องมือในการพัฒนารัฐวิสาหกิจไปสู่ความเป็นเลิศได้อย่างแท้จริง

  15. จุดมุ่งหมาย • สนับสนุนการนำเกณฑ์ประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ ไปใช้ในการปรับปรุงความสามารถในการแข่งขัน • ประกาศเกียรติคุณให้กับรัฐวิสาหกิจที่ประสบผลสำเร็จในระดับมาตรฐานโลก • กระตุ้นให้มีการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ • แสดงให้ภาคส่วนต่างๆ ของประเทศเห็นถึงความมุ่งมั่นในการยกระดับมาตรฐานความเป็นเลิศในการบริหารจัดการ

  16. คุณค่าของเกณฑ์ฯ • ทุกคนคือผู้ชนะ • ทุกคนสามารถเข้าร่วมและได้รับประโยชน์ • ได้ประโยชน์อย่างยิ่งไม่ว่าจะอยู่ในระดับใด • รัฐวิสาหกิจได้รับรายงานป้อนกลับทุกแห่ง

  17. ที่มาของรางวัลคุณภาพแห่งชาติที่มาของรางวัลคุณภาพแห่งชาติ • เกณฑ์ประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ พัฒนามาจากแนวทางของรางวัล Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA) ซึ่งเป็นรางวัลที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่ Mr. Malcolm Baldrige อดีตรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงพาณิชย์ของประเทศสหรัฐอเมริกา ในช่วงปี 1980 ซึ่งเป็นช่วงที่สหรัฐกำลังมีปัญหาเรื่องความสามารถในการแข่งขัน • มีประเทศต่าง ๆ นำแนวทางไปประยุกต์เป็นเกณฑ์รางวัลคุณภาพของชาติตนมากกว่า 70 ประเทศ

  18. การประยุกต์ใช้ในประเทศต่างๆการประยุกต์ใช้ในประเทศต่างๆ 70ประเทศ

  19. ภาพรวม ระบบประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ (State Enterprise Performance Appraisal – SEPA)

  20. โครงสร้างของเกณฑ์ฯ 12 ค่านิยมหลัก 7 หมวด 4 ประเด็นหลัก 6 ระดับการให้คะแนน

  21. ค่านิยมหลัก การมุ่งเน้นความสมดุลย์ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การนำองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์ ความเป็นเลิศที่มุ่งเน้นลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การเรียนรู้ขององค์กรและของบุคลากร การเห็นคุณค่าของพนักงานและคู่ค้า ความสามารถในการปรับตัว การมุ่งเน้นบทบาทของรัฐวิสาหกิจในอนาคต การจัดการเพื่อสร้างนวัตกรรม การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง การแสดงความรับผิดชอบต่อสาธารณะ รวมทั้งการพัฒนาสังคมและประเทศ การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ การมีมุมมองเชิงระบบ

  22. หลักการเศรษฐกิจ พอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน มีความรู้ มีคุณธรรม

  23. หมวดของเกณฑ์ฯ การนำองค์กรรัฐวิสาหกิจ การวางแผนวิสาหกิจ การมุ่งเน้นลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ การมุ่งเน้นบุคลากร การจัดการกระบวนการ ผลลัพธ์

  24. 4 ประเด็นหลัก การบูรณาการ(Integration) การเรียนรู้(Learning) ผลลัพธ์ (Result) แนวทาง (Approach) การถ่ายทอด(Deployment)

  25. แนวทาง • วิธีการที่ใช้เพื่อให้กระบวนการบรรลุผล • ความเหมาะสมของวิธีการที่ตอบสนองเงื่อนไขของหัวข้อต่างๆ • ความมีประสิทธิผลของการใช้วิธีการต่างๆ ของรัฐวิสาหกิจ • ระดับของการที่แนวทางนั้นนำไปใช้ซ้ำได้ และอยู่บนพื้นฐานของข้อมูลและสารสนเทศที่เชื่อถือได้ (ซึ่งหมายถึง การดำเนินการอย่างเป็นระบบ)

  26. การถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติการถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ • การใช้แนวทางเพื่อตอบสนองเงื่อนไขต่างๆ ของหัวข้อที่มีความเกี่ยวข้องและสำคัญต่อรัฐวิสาหกิจ • การใช้แนวทางอย่างคงเส้นคงวา • การใช้แนวทางในทุกหน่วยงานที่ควรใช้

  27. การเรียนรู้ • การปรับปรุงแนวทางให้ดีขึ้น โดยใช้วงจรการประเมินและการปรับปรุง • การกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดดของแนวทางโดยใช้นวัตกรรม • การแบ่งปันความรู้จากการปรับปรุงที่ดีขึ้นและนวัตกรรมกับหน่วยงานและกระบวนการอื่นที่เกี่ยวข้องภายในรัฐวิสาหกิจ

  28. การบูรณาการ • การใช้แนวทางที่สอดคล้องไปในแนวทางเดียว กันกับความต้องการของรัฐวิสาหกิจตามที่ระบุไว้ในเงื่อนไขข้อกำหนดของหัวข้อต่างๆ ในเกณฑ์ • การใช้ตัววัด สารสนเทศ และระบบการปรับปรุง ที่ช่วยเสริมกระบวนการและหน่วยงานทั่วทั้งรัฐวิสาหกิจ • แผนงาน กระบวนการ ผลลัพธ์ การวิเคราะห์ การเรียนรู้ และการปฏิบัติการ มีความสอดคล้องกลมกลืนกันทุกกระบวนการและหน่วยงาน เพื่อสนับสนุนเป้าประสงค์ระดับรัฐวิสาหกิจ

  29. ผลลัพธ์ • ระดับของผลการดำเนินการในปัจจุบัน • อัตราการเปลี่ยนแปลง และความครอบคลุมของการปรับปรุงผลการดำเนินการ • ผลการดำเนินการของรัฐวิสาหกิจเปรียบเทียบกับตัวเปรียบเทียบ และ/หรือระดับเทียบเคียงที่เหมาะสม • การเชื่อมโยงของตัววัดผลต่างๆ กับผลการดำเนินการด้านผลิตภัณฑ์และบริการ ลูกค้า ตลาด กระบวนการ และแผนปฏิบัติการที่สำคัญ

  30. 6 ระดับการให้คะแนน 1 2 3 ไม่มีระบบใดเลย แก้ปัญหาเฉพาะหน้า แนวทางเริ่มเป็นระบบ 1 1 4 5 6 มุ่งเป็นทิศทางเดียวกัน แนวทางบูรณาการ บูรณาการเป็นหนึ่ง

  31. ตารางเวลาดำเนินงาน ประจำปี 2552 หมายเหตุ: สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ สงวนสิทธิ์ ในการเปลี่ยนแปลงตารางเวลาดำเนินงานในภายหลังได้ตามความเหมาะสม

  32. เกณฑ์ฯ โดยรวม ค่านิยมหลัก หมวดการบริหาร การนำองค์กรรัฐวิสาหกิจ การวางแผนวิสาหกิจ การมุ่งเน้นลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ การมุ่งเน้นบุคลากร การจัดการกระบวนการ ผลลัพธ์ • การมุ่งเน้นความสมดุลย์ • การนำองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์ • ความเป็นเลิศที่มุ่งเน้นลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • การเรียนรู้ขององค์กรและของบุคลากร • การเห็นคุณค่าของพนักงานและคู่ค้า • ความสามารถในการปรับตัว • การมุ่งเน้นบทบาทของรัฐวิสาหกิจในอนาคต • การจัดการเพื่อสร้างนวัตกรรม • การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง • การแสดงความรับผิดชอบต่อสาธารณะ รวมทั้งการพัฒนาสังคมและประเทศ • การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ • การมีมุมมองเชิงระบบ

  33. องค์ประกอบของแต่ละหมวดองค์ประกอบของแต่ละหมวด CATEGORY 1 Leadership ITEM 1.1 ITEM 1.2 Governance and Social Responsibilities Senior Leadership AREA TO ADDRESS 1.1a AREA TO ADDRESS 1.2a AREA TO ADDRESS 1.2b Vision and Values Legal and Ethical Behavior Organizational Governance AREA TO ADDRESS 1.1b SUBPART (1) Communication and Organizational Performance SUBPART (2) Element SUBPART (3)

  34. คะแนนของหมวดและหัวข้อต่างๆคะแนนของหมวดและหัวข้อต่างๆ หมวด 1 การนำองค์กรรัฐวิสาหกิจ 60 1.1 การบริหารนโยบายรัฐวิสาหกิจโดยผู้บริหารระดับสูง 30 1.2 ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อประเทศและสังคม 30 หมวด 2 การวางแผนวิสาหกิจ 60 2.1การจัดทำกลยุทธ์ 30 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์เพื่อนำไปปฏิบัติ 30 หมวด 3 การมุ่งเน้นลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 60 3.1 ความรู้เกี่ยวกับลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 30 3.2 ความสัมพันธ์กับลูกค้าและความพึงพอใจของลูกค้า 30

  35. คะแนนของหมวดฯ (ต่อ) หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 50 4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการของ รส. 25 4.2การจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และความรู้ 25 หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร 60 5.1ความผูกพันของบุคลากร 30 5.2 สภาพแวดล้อมของบุคลากร 30 6หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 60 6.1การออกแบบระบบงาน 30 6.2การจัดการและการปรับปรุงกระบวนการทำงาน 30

  36. คะแนนของหมวดฯ (ต่อ) หมวด 7 ผลลัพธ์ 650 7.1ผลลัพธ์ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ 110 7.2 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า 110 7.3ผลลัพธ์ด้านการเงินและการตลาด 100 7.4 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร 110 7.5ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลของกระบวนการ 110 7.6ผลลัพธ์ด้านการบริหารรัฐวิสาหกิจ 110 คะแนนรวม1,000

  37. บริบทของรัฐวิสาหกิจ ระบบประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ (State Enterprise Performance Appraisal – SEPA)

  38. P บริบทของรัฐวิสาหกิจ ภาพรวมของรัฐวิสาหกิจเป็นสิ่งสำคัญที่มีผลต่อวิธีการดำเนินธุรกิจ และความท้าทายที่สำคัญที่รัฐวิสาหกิจเผชิญอยู่ P2 ความท้าทายต่อรัฐวิสาหกิจ P1 ลักษณะของรัฐวิสาหกิจ

  39. P1 ลักษณะของรัฐวิสาหกิจ ให้อธิบายถึงสภาพแวดล้อมทางธุรกิจของรัฐวิสาหกิจ และความสัมพันธ์ที่สำคัญกับลูกค้า ผู้ส่งมอบ คู่ค้า และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. ความสัมพันธ์ระดับรัฐวิสาหกิจ ก. สภาพแวดล้อมของรัฐวิสาหกิจ

  40. P1 ลักษณะของรัฐวิสาหกิจ ก. สภาพแวดล้อมของรัฐวิสาหกิจ ภารกิจหลัก วัฒนธรรมองค์กร จุดมุ่งหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม ข้อมูลทั่วไป ของพนักงาน เทคโนโลยีหลัก อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก กฎระเบียบข้อบังคับ การรับรองจดทะเบียน ผลิตภัณฑ์และบริการหลัก กลไกการส่งมอบ

  41. P1 ลักษณะของรัฐวิสาหกิจ ข. ความสัมพันธ์ระดับรัฐวิสาหกิจ โครงสร้างองค์กร ระบบธรรมาภิบาล ความสัมพันธ์ด้านการกำกับดูแลและการรายงานระหว่างคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ ผู้บริหารระดับสูง และองค์กรที่กำกับดูแล กลุ่มลูกค้าและกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และส่วนตลาดที่สำคัญภายใต้ภารกิจหลัก ความต้องการและความคาดหวังที่สำคัญ ความแตกต่างในความต้องการและความคาดหวังของแต่ละกลุ่ม ประเภทของผู้ส่งมอบ คู่ค้า คู่ความร่วมมือ และตัวแทนจำหน่ายที่สำคัญภายใต้ภารกิจหลัก บทบาทภายในระบบงาน การผลิต และการส่งมอบผลิตภัณฑ์และบริการ การสร้างนวัตกรรม ความต้องการที่สำคัญของห่วงโซ่อุปทาน ความสัมพันธ์ในการเป็น คู่ค้ากับผู้ส่งมอบและกับลูกค้าที่สำคัญ กลไกการสื่อสารระหว่างกันภายใต้ภารกิจหลัก

  42. P2 ความท้าทายต่อรัฐวิสาหกิจ อธิบายถึงสภาพแวดล้อมด้านการแข่งขัน ความท้าทาย และความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ที่สำคัญ และระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการของรัฐวิสาหกิจ ก. สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขัน ข. บริบทเชิงกลยุทธ์ ค. ระบบการปรับปรุง ผลการดำเนินการ

  43. P2 ความท้าทายต่อรัฐวิสาหกิจ ก. สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขัน ลำดับในการแข่งขัน ณ ระดับต่างๆ ขนาดและการเติบโตเมื่อเปรียบ เทียบกับองค์กรในอุตสาหกรรมหรือตลาดเดียวกัน รวมทั้งจำนวนและประเภทของคู่แข่งในระดับการแข่งขันดังกล่าว ปัจจัยหลักที่ทำให้ประสบความสำเร็จเมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่งในระดับการแข่งขันข้างต้น การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญที่เกิดขึ้นซึ่งมีผลต่อสถานะการแข่งขัน โอกาสสำหรับการสร้างนวัตกรรมและความร่วมมือ แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบและ เชิงแข่งขันที่สำคัญ แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบที่สำคัญจากอุตสาหกรรมอื่น

  44. P2 ความท้าทายต่อรัฐวิสาหกิจ ข. บริบทเชิงกลยุทธ์ ความท้าทาย และความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ที่สำคัญด้านธุรกิจ ด้านการปฏิบัติการ และด้านทรัพยากรบุคคลในระดับการแข่งขันข้างต้น ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ที่สำคัญที่ส่งผลกระทบต่อความยั่งยืน

  45. P2 ความท้าทายต่อรัฐวิสาหกิจ ค.ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินงาน ระบบการประเมินผลและการเรียนรู้

  46. รายละเอียด ระบบประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ (State Enterprise Performance Appraisal – SEPA)

  47. 1 การนำองค์กรรัฐวิสาหกิจ1 การนำองค์กรรัฐวิสาหกิจ หัวข้อนี้เป็นการประเมินว่าผู้บริหาระะดับสูงของรัฐวิสาหกิจมีวิธีการใดบ้างในการกำหนดทิศทางและทำให้รัฐวิสาหกิจเกิดความยั่งยืน รวมทั้งประเมินระบบธรรมาภิบาลของรัฐวิสาหกิจ ตลอดจนการดำเนินการทางด้านจริยธรรม กฎหมาย รวมทั้งความรับผิดชอบต่อประเทศและสังคม

  48. 1 การนำองค์กรรัฐวิสาหกิจ 1.2 ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อประเทศและสังคม 1.1 การนำทิศทางรัฐวิสาหกิจโดยผู้นำระดับสูง อธิบายการดำเนินการที่ผู้บริหารระดับสูงใช้ในการนำทิศทางและทำให้รัฐวิสาหกิจเกิดความยั่งยืน รวมทั้งอธิบายการดำเนินการที่ผู้บริหารระดับสูงสื่อสารกับพนักงาน และกระตุ้นให้มีผลการดำเนินงานที่ดี อธิบายระบบธรรมภิบาล การดำเนินการเพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อประเทศและสังคม และพฤติกรรมที่มีจริยธรรมและเป็นองค์กรที่ดีในสังคม ก. ธรรมาภิบาลของรัฐวิสาหกิจ ก. วิสัยทัศน์และค่านิยม ข. พฤติกรรมที่ปฏิบัติตามกฏหมายและมีจริยธรรม ข. การสื่อสารและผลการดำเนินการของรัฐวิสาหกิจ ค. การสนับสนุนการพัฒนาประเทศและชุมชนที่สำคัญ

More Related