390 likes | 500 Views
ผลกระทบของค่าเงินบาท ต่อภาคอุตสาหกรรม และแนวทางการปรับตัว. คณะผู้ทำวิจัย ปัทมาภรณ์ พรายภู่ กุลชลี โหมดพลาย วิมล เลี่ยนเพ็ชร สุทธิรัตน์ กาสา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. 21 มิถุนายน 2550. หัวข้อในการนำเสนอ. ความสำคัญของปัญหา วิธีการศึกษา
E N D
ผลกระทบของค่าเงินบาทต่อภาคอุตสาหกรรมและแนวทางการปรับตัวผลกระทบของค่าเงินบาทต่อภาคอุตสาหกรรมและแนวทางการปรับตัว คณะผู้ทำวิจัย ปัทมาภรณ์ พรายภู่ กุลชลี โหมดพลาย วิมล เลี่ยนเพ็ชร สุทธิรัตน์ กาสา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 21 มิถุนายน 2550
หัวข้อในการนำเสนอ • ความสำคัญของปัญหา • วิธีการศึกษา • ผลการศึกษา • ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
สัดส่วนภาคอุตสาหกรรมต่อ GDP ในประเทศไทย ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ไตรมาสที่ 1 ปี 2550
สถานการณ์ค่าเงินบาท ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย
อัตราการเปลี่ยนแปลงของค่าเงิน(ณ วันที่ 11 มิถุนายน 2550 เทียบกับต้นปี 2549) ที่มา : CEIC
ความสำคัญของปัญหา กลไกผลกระทบค่าเงินบาท
วิธีการศึกษา • การแบ่งกลุ่มอุตสาหกรรม • การเปรียบเทียบประเทศคู่แข่ง • การวัดผลกระทบ
การแบ่งกลุ่มอุตสาหกรรมการแบ่งกลุ่มอุตสาหกรรม • เกณฑ์ในการแบ่งกลุ่ม- สัดส่วนการส่งออกสินค้า- สัดส่วนการนำเข้าปัจจัยการผลิต • ข้อมูลที่ใช้ - ข้อมูลการสำรวจโรงงานอุตสาหกรรม (รง.9) ปี 2548
ข้อมูลที่นำมาจาก รง.9 ปี 2548 1 มีทั้งหมด 132 อุตสาหกรรม นำมาพิจารณา 89 อุตสาหกรรม ซึ่งเป็น อุตสาหกรรมที่มีข้อมูลโรงงาน 5 โรงงานขึ้นไป (แบ่งประเภทตาม ISIC) 2 คำถามในแบบสำรวจข้อ 5 เรื่องมูลค่าสินค้า - มูลค่าการจำหน่ายสินค้าในประเทศและส่งออก --> สัดส่วนการส่งออก 3 คำถามในแบบสำรวจข้อ 8 เรื่องต้นทุนการผลิต - มูลค่าการใช้วัตถุดิบในประเทศและต่างประเทศ - มูลค่าการใช้เชื้อเพลิงและพลังงาน --> - มูลค่าของค่าเสื่อมโรงงานและเครื่องจักรอุปกรณ์ ข้อมูลการสำรวจโรงงานอุตสาหกรรม (รง.9) สัดส่วนการนำเข้าปัจจัยการผลิต
การแบ่งกลุ่มอุตสาหกรรมตามสัดส่วนการนำเข้าปัจจัยการผลิตและการส่งออกการแบ่งกลุ่มอุตสาหกรรมตามสัดส่วนการนำเข้าปัจจัยการผลิตและการส่งออก กลุ่ม 3 EXน้อย IMมาก กลุ่ม 1 EX มาก IMมาก น้ำมัน อัญมณีและเครื่องประดับ เครื่องรับทีวี ฮาร์ดดิส ไดร์ฟ เส้นใยประดิษฐ์ หลอดอิเล็กทรอนิกส์ เหล็ก ยานยนต์ สิ่งทอ พลาสติก อาหาร เฟอร์นิเจอร์ อาหารสัตว์ กลุ่ม 4 EXน้อย IMน้อย กลุ่ม 2 EXมาก IMน้อย
การเปรียบเทียบมูลค่าการผลิตของกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆการเปรียบเทียบมูลค่าการผลิตของกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ
การเปรียบเทียบมูลค่าเพิ่มของกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆการเปรียบเทียบมูลค่าเพิ่มของกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ
การเลือกอุตสาหกรรมเพื่อวิเคราะห์การเลือกอุตสาหกรรมเพื่อวิเคราะห์ • พิจารณาอุตสาหกรรมทุกกลุ่มโดยหาอุตสาหกรรมตัวแทนจากกลุ่มที่เราได้แยกไว้แล้วกลุ่มละ 2 อุตสาหกรรม • เลือกอุตสาหกรรมโดยพิจารณาจาก: - มูลค่าเพิ่ม - ความเชื่อมโยงต่อ อุตสาหกรรมอื่น ข้อมูลจากตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต
กลุ่ม 1 EX มาก IM มาก กลุ่ม 3 EX น้อย IM มาก • เหล็ก • น้ำมัน • อัญมณี • อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่ม 2 EX มาก IM น้อย กลุ่ม 4 EX น้อย IM น้อย • สิ่งทอ • เฟอร์นิเจอร์ • อาหารสัตว์ • พลาสติก
การคัดเลือกประเทศคู่แข่งการคัดเลือกประเทศคู่แข่ง • เลือกสินค้า 3 อันดับแรก (HS code 4 หลัก) จากอุตสาหกรรมตัวแทน ทั้ง 8 อุตสาหกรรม • หาตลาดส่งออก 3 ประเทศแรกในแต่ละอุตสาหกรรม • พิจารณาการนำเข้าของตลาดส่งออกนั้นว่ามาจากประเทศใด โดย • เลือกประเทศที่มีอันดับการนำเข้าสูงกว่าและต่ำกว่าไทย 10 อันดับ • พิจารณาคุณภาพสินค้าที่มีลักษณะคล้ายกัน
กลุ่ม 1 EX มาก IM มาก กลุ่ม 3 EX น้อย IM มาก • Vietnam -India • -China -Malaysia • Malaysia -India • Indonesia -China กลุ่ม 2 EX มาก IM น้อย กลุ่ม 4 EX น้อย IM น้อย • Vietnam -China -Malaysia • Vietnam -China -Indonesia -India
ระยะยาว การศึกษา นวัตกรรมและR&D เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ระยะสั้น อัตราแลกเปลี่ยน ค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำ ผลผลิตต่อแรงงาน ตัวแปรที่ใช้ในการเปรียบเทียบประเทศคู่แข่ง
การเปรียบเทียบค่าเงินของประเทศคู่แข่ง( ข้อมูล ณ วันที่ 3 มกราคม 2549 – 31 พฤษภาคม 2550) ที่มา : CEIC
การเปรียบเทียบค่าจ้างแรงงานของประเทศคู่แข่งการเปรียบเทียบค่าจ้างแรงงานของประเทศคู่แข่ง ที่มา : International Labour Organization
การเปรียบเทียบ Labour Productivity ของประเทศคู่แข่ง US$ ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2005
การเปรียบเทียบ Labour Productivity Growthของประเทศคู่แข่ง ที่มา: ธนาคารเพื่อพัฒนาแห่งเอเชีย(ADB) และ OECD
การเปรียบเทียบประเทศคู่แข่งในด้านการศึกษาการเปรียบเทียบประเทศคู่แข่งในด้านการศึกษา ที่มา :The Global Competitiveness Report 2005
การเปรียบเทียบประเทศคู่แข่งในด้าน ICT ที่มา :UNCTAD และ IMD World Competitiveness Yearbook 2005
การเปรียบเทียบประเทศคู่แข่งในด้านการพัฒนาและวิจัยการเปรียบเทียบประเทศคู่แข่งในด้านการพัฒนาและวิจัย ที่มา :The Global Competitiveness Report2005
สัดส่วน R & D ต่อยอดขาย กลุ่ม 3 EXน้อย IMมาก กลุ่ม 1 EX มาก IMมาก น้ำมัน อัญมณี อิเล็กทรอนิกส์ เหล็ก สิ่งทอ พลาสติก เฟอร์นิเจอร์ อาหารสัตว์ กลุ่ม 4 EXน้อย IMน้อย กลุ่ม 2 EXมาก IMน้อย 0.0150.050.125
การเปรียบเทียบประเทศคู่แข่งโดยรวมในระยะยาวการเปรียบเทียบประเทศคู่แข่งโดยรวมในระยะยาว
การวัดผลกระทบ • ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนต่อกำไร • ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนต่อตัวแปร ที่สำคัญทางเศรษฐกิจโดยใช้แบบจำลอง เศรษฐกิจมหภาค
กลุ่ม 3 EXน้อย IMมาก กลุ่ม 1 EX มาก IMมาก กลุ่ม 2 EX มาก IMน้อย กลุ่ม 4 EX น้อย IMน้อย 0.15 ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนต่อกำไร น้ำมัน อัญมณี อิเล็กทรอนิกส์ เหล็ก สิ่งทอ พลาสติก เฟอร์นิเจอร์ อาหารสัตว์ 0.08 – 0.14 0.001 – 0.07
วิเคราะห์ตัวแปรที่สำคัญทางเศรษฐกิจโดยใช้แบบจำลองเศรษฐกิจมหภาควิเคราะห์ตัวแปรที่สำคัญทางเศรษฐกิจโดยใช้แบบจำลองเศรษฐกิจมหภาค วิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาคโดย Macro Model • สมมติฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์ • ปัจจัยอื่น ๆ คงที่ • ค่าเงินประเทศคู่ค้าและประเทศคู่แข่งไม่เปลี่ยนแปลง
วิเคราะห์ตัวแปรที่สำคัญทางเศรษฐกิจโดยใช้แบบจำลองเศรษฐกิจมหภาควิเคราะห์ตัวแปรที่สำคัญทางเศรษฐกิจโดยใช้แบบจำลองเศรษฐกิจมหภาค • กรณีศึกษา • วิเคราะห์ผลกระทบเมื่อค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น 10% • เมื่อมีการเพิ่ม Labour productivity 10% จะทำให้ตัวแปรที่สำคัญในระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร • เมื่อมีการเพิ่ม Capital productivity 10% จะทำให้ตัวแปรที่สำคัญในระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร • เมื่อมีการเพิ่ม Labour productivity& Capital productivity อย่างละ10% จะทำให้ตัวแปรที่สำคัญในระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
กรณีเงินบาทแข็งค่า 10%และมีการเพิ่ม Capital productivity10%
กรณีเงินบาทแข็งค่า 10%และมีการเพิ่ม Labor productivity10%
กรณีเงินบาทแข็งค่า 10% เพิ่ม Capital productivity และเพิ่ม Labor productivity อย่างละ 10%
สรุปจากงานวิจัย • อุตสาหกรรมในกลุ่มที่ 2 ควรได้รับการช่วยเหลือเป็นกลุ่มแรก • การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ การเพิ่ม Value added จากการใช้แรงงานและทุนที่มีคุณภาพสูงขึ้น ช่วยลดผลกระทบจากการแข็งค่าของเงินบาท