1 / 79

การ บริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ & กรอบการประเมินผล

การ บริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ & กรอบการประเมินผล. ภาพรวมของการบริหาร. วิสัยทัศน์ บทบาท ภารกิจ. โครงสร้าง. ระบบงาน. กฎ ระเบียบ. แผนงาน. การ บริหารบุคคล. งบประมาณ. การเป็นระบบราชการที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ คือ จุดมุ่งหมายของการปฎิรูประบบบริหารภาครัฐ. ค่านิยมของการ ทำงานที่เน้น

indra
Download Presentation

การ บริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ & กรอบการประเมินผล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์&กรอบการประเมินผลการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์&กรอบการประเมินผล

  2. ภาพรวมของการบริหาร วิสัยทัศน์ บทบาท ภารกิจ โครงสร้าง ระบบงาน กฎ ระเบียบ แผนงาน การ บริหารบุคคล งบประมาณ

  3. การเป็นระบบราชการที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์การเป็นระบบราชการที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ คือ จุดมุ่งหมายของการปฎิรูประบบบริหารภาครัฐ ค่านิยมของการ ทำงานที่เน้น ผลสัมฤทธิ์ ความชัดเจน ในพันธกิจและงานที่ต้องทำ ความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ กฎระเบียบ ข้อบังคับที่สร้าง ความคล่องตัวในการปฏิบัติตาม นโยบายและการรายงาน ผลการดำเนินงาน การใช้ทรัพยากร อย่างคุ้มค่า ผลงานที่ บรรลุเป้าประสงค์ ทีมบริหารจัดการ ที่มีประสิทธิภาพ ความรับผิดชอบ ในหน้าที่ ระบบผลตอบแทน และสิ่งจูงใจที่จูงใจ การทำงาน แบบมืออาชีพ ความสำนึกในการ ทำงานเพื่อประชาชน ระบบราชการในอนาคต วงจรว่าด้วย ธรรมาภิบาล วงจรที่เกี่ยวข้องกับ ระบบการดำเนินงาน วงจรว่าด้วย ประสิทธิภาพ การดำเนินงาน วงจรว่าด้วย ขีดความสามารถ ในการดำเนินงาน สำนักงาน ก.พ.ร.

  4. ผลสัมฤทธิ์ (Results) ผลผลิต (Outputs) ผลลัพธ์ (Outcomes) การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management - RBM) คือ วิธีการบริหารจัดการที่เป็นระบบที่มุ่งเน้นที่ผลสัมฤทธิ์ หรือผลการปฏิบัติงานเป็นหลัก โดยมีการวัดผลการ ปฏิบัติงานที่ชัดเจน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  5. ผลผลิต กิจกรรม งาน หรือบริการที่ทำเสร็จสมบูรณ์แล้ว เพื่อส่งให้ผู้รับบริการ ผลลัพธ์ เหตุการณ์ สิ่งที่เกิดขึ้น หรือเงื่อนไขที่เกิดขึ้นนอกโครงการ และมีความเกี่ยวข้องโดยตรง ต่อผู้ใช้บริการ และสาธารณะ

  6. RBM:Results เกี่ยวข้องกับทุกกระบวนการของการบริหาร A P C D PLAN วัตถุประสงค์/เป้าหมายชัดเจน(ต้องการผลสัมฤทธิ์อะไร) DO ปฏิบัติมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามที่วางแผนไว้ CHECK วัดว่าปฏิบัติได้ผลสัมฤทธิ์ตามที่วางแผนหรือไม่(KPI ชัดเจน) ACT ปรับปรุงแก้ไขให้ได้ตามที่วางแผนไว้

  7. การวัดผลสัมฤทธิ์ในส่วนราชการการวัดผลสัมฤทธิ์ในส่วนราชการ ประหยัด ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เป้าหมาย (สังคม/ ชาติ) วัตถุประสงค์ (เฉพาะกลุ่ม/ เฉพาะเรื่อง) ปัจจัยนำเข้า -กำลังคน -อุปกรณ์/เครื่องใช้ -งบประมาณ ผลลัพธ์ - ผลกระทบ/ ประโยชน์ - ผลที่เกิดจากใบอนุญาต กฎเกณฑ์ ระเบียบ รายงานหรือข้อเสนอแนะ ฯลฯ - การเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อชีวิตมนุษย์ สังคม สิ่งแวดล้อมและชาติ ในทางบวก กระบวนการ -กระบวนการบริหาร และดำเนินงาน - ระบบข้อมูล - ระบบการให้บริการ - ระบบการตัดสินใจ ผลผลิต ผลงานที่ตั้งเป้าไว้ (ใบอนุญาต กฎเกณฑ์ ระเบียบ รายงานผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ ฯลฯ) ข้อมูลป้อนกลับ 7

  8. กรอบความคิดเรื่องการวัดผลสัมฤทธิ์กรอบความคิดเรื่องการวัดผลสัมฤทธิ์ ผลสัมฤทธิ์ RESULTS วัตถุประสงค์ OBJECTIVES ปัจจัยนำเข้า INPUTS กิจกรรม PROCESSES ผลผลิต OUTPUTS ผลลัพธ์ OUTCOMES ความประหยัด ความมีประสิทธิภาพ ความมีประสิทธิผล

  9. ที่มา พ.ร.บ./พ.ร.ฎ. ทุกจังหวัด/ ส่วนราชการ นโยบายรัฐบาล มติคณะรัฐมนตรี (ค่าตอบแทน) ยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย สศช. /สงป. มท. /ก.พ.ร.

  10. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 • เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน • เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ • มีประสิทธิภาพ คุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ • ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน • ลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น • กระจายภารกิจและทรัพยากรให้ท้องถิ่น • กระจายอำนาจตัดสินใจ • อำนวยความสะดวก ตอบสนองความต้องการของประชาชน • รับผิดชอบต่อผลของงาน

  11. พระราชกฤษฎีกาฯ หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 6 • เกิดประโยชน์สุขของประชาชน • เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ • มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ • ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น • มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์ • ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับ • การตอบสนองความต้องการ • มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ

  12. พระราชกฤษฎีกาฯ ที่มีบทบัญญัติว่าด้วยการสร้างแรงจูงใจและสิ่งจูงใจ มาตรา 48ให้เงินรางวัลประจำปีแก่ส่วนราชการที่บริการประชาชนดีเด่น ให้เงินเพิ่มพิเศษตามผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการ ให้ความดีความชอบตามผลการปฏิบัติงานของข้าราชการ มาตรา49ให้มีเงินรางวัลการเพิ่มประสิทธิภาพให้กับส่วนราชการที่สามารถ เพิ่มผลงานและผลสัมฤทธิ์ได้โดยไม่เพิ่มรายจ่าย มาตรา50 อาจกำหนดมาตรการจูงใจเพิ่มเติมจากมาตรา 48 49 ได้ เพื่อเป็น การลดค่าใช้จ่ายหรือเพิ่มผลงานของส่วนราชการ

  13. วิสัยทัศน์ใหม่ของการพัฒนาระบบราชการไทยวิสัยทัศน์ใหม่ของการพัฒนาระบบราชการไทย “พัฒนาระบบราชการไทยให้มีความเป็นเลิศ สามารถรองรับกับการพัฒนาประเทศใน ยุคโลกาภิวัฒน์ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล และ ประโยชน์สุขของประชาชน”

  14. เป้าประสงค์หลัก (ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์) ยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 1. พัฒนาคุณภาพการให้ บริการประชาชนที่ดีขึ้น พัฒนาระบบราชการ ไทยให้มีความเป็น เลิศสามารถรองรับ กับการพัฒนา ประเทศในยุค โลกาภิวัตน์โดยยึด หลักการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี และประโยชน์สุข ของประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ 2 2. ปรับบทบาทภารกิจ และ ขนาดให้มีความเหมาะสม ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 4 3. ยกระดับขีดความสามารถและ มาตรฐานการทำงานให้อยู่ ในระดับ สูงและเทียบเท่าเกณฑ์สากล ยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์ที่ 6 4. ตอบสนองต่อการบริหาร ปกครองในระบอบประชาธิปไตย ยุทธศาสตร์ที่ 7

  15. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ. 2546-2550 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงาน • นำระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์มาประยุกต์ใช้อย่างจริงจังทำแผนยุทธศาสตร์ให้สอดคล้องและเชื่อมโยงกับนโยบายและเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ของรัฐบาล กำหนดตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์ ที่ชัดเจนให้วัดได้ทุกระดับ ตั้งแต่ ระดับองค์กร ไปจนถึง ระดับบุคล • ปรับปรุงระบบการประเมินผลการดำเนินงาน โดยจัดให้มีการเจรจาและทำ ข้อตกลงว่าด้วยผลงานประจำปีให้สอดรับกับแผนยุทธศาสตร์และแผนดำเนินงานรายปีกับหัวหน้าส่วนราชการไว้เป็นการล่วงหน้า ให้มีการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามข้อตกลงทุกสิ้นปี โดยถือเป็นเงื่อนไขส่วนหนึ่งของการให้เงินรางวัลประจำปี

  16. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ. 2546-2550 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงาน • การกำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมายและตัวชี้วัดของแผนยุทธศาสตร์และ แผนดำเนินงาน การจัดทำข้อตกลงว่าด้วยผลงาน การติดตามและประเมินผล ให้มีกระบวนการปรึกษาหารือ การสำรวจและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และ/หรือเปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมโดยตรง

  17. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ. 2546-2550 ยุทธศาสตร์ 2: การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน • เน้นการจัดระเบียบโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดินในเชิงบูรณาการ โดยให้ • มีลักษณะแบบเมตริกซ์เชิงซ้อน ให้มีกลไกประสานการทำงานร่วมกัน • ทบทวนการจัดโครงสร้างองค์การของกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ ให้มีความ • เหมาะสมมากขึ้น • วางยุทธศาสตร์/แผนงานการพัฒนาเขตพื้นที่ในเชิงบูรณาการและการจัดสรร • ทรัพยากรในลักษณะแบบอิงพื้นที่ โดยให้มีการวางหลักเกณฑ์ที่ชัดเจน • ปรับปรุงและจัดระเบียบความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารราชการในระดับ • ต่างๆ (intergovernmental relations)

  18. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ. 2546-2550 ยุทธศาสตร์ 2: การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน • ทบทวนความจำเป็นและตรวจสอบความคุ้มค่าของเงินเพื่อนำทรัพยากรไปจัดสรรในส่วนที่มีความจำเป็นมากกว่าและ/หรือเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการอื่นรับผิดชอบแทน • จัดศูนย์รับผิดชอบเกี่ยวกับงานบริการที่สามารถเรียกเก็บค่าบริการจากผู้รับบริการ หรือขอรับค่าบริการ/ เงินอุดหนุนชดเชยจากรัฐบาลได้ และสามารถเก็บรายได้ของตนไว้บางส่วนหรือทั้งหมด ไม่จำเป็นต้องนำส่งกระทรวงการคลัง • ทบทวนระบบการบริหารงานบุคคลในราชการบริหารส่วนภูมิภาคให้สอดรับกับความหลากหลายในการจัดรูปแบบใหม่ของภูมิภาคและการบริหารจัดการระดับจังหวัด

  19. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ. 2546-2550 ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแรงจูงใจ ยุทธศาสตร์ 3: การรื้อปรับระบบการเงินและการงบประมาณ • ให้ยึดตามยุทธศาสตร์รัฐบาลเป็นหลัก และสอดรับกับการบริหารราชการแผ่นดิน • เปิดโอกาสให้ทำความตกลงล่วงหน้าสามารถเก็บเงินเหลือจ่ายไว้ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาองค์กรหรือฝึกอบรมข้าราชการได้ • ให้มีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในรูปแบบต่าง ๆ หากส่วนราชการมีการครอบครองกรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์มากเกินความจำเป็นโดยไม่นำมาใช้ประโยชน์ • เปิดโอกาสให้สามารถดำเนินการกิจกรรมบางอย่างเพื่อหารายได้ของตนเองไว้ใช้ในการพัฒนาองค์กรและเสริมสร้างแรงจูงใจของบุคลากรในรูปสวัสดิการ

  20. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ. 2546-2550 ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแรงจูงใจ ยุทธศาสตร์ 4: การสร้างระบบบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทนใหม่ • คัดเลือกบุคลากรที่มีความสามารถสูงจากข้าราชการที่มีอยู่ในปัจจุบันหรือบุคคลภายนอกทั่วไป ทั้งระดับผู้บริหารระดับต้นและผู้บริหารระดับอาวุโสเข้าสู่การอบรมหลักสูตรพิเศษ • นำระบบการเลือกสรรระบบเปิดที่เน้นหลักสมรรถนะการบริหารจัดการมาใช้กับผู้บริหารระดับสูงทุกตำแหน่ง • เชื่อมโยงการจัดทำเป้าหมายการทำงาน ขีดความสามารถและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของแต่ละบุคคลเข้ากับการสร้างแรงจูงใจ

  21. มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 9 มีนาคม 2547(การกำหนดเป้าหมาย มาตรการและแนวทางรายละเอียดการปรับปรุงค่าตอบแทนของข้าราชการ) • ให้ค่าตอบแทนพิเศษอื่น ๆ 1. เงินเพิ่มพิเศษตามลักษณะการปฏิบัติงาน 2. เงินเพิ่มพิเศษตามผลงาน ให้ผู้บริหารระดับสูงและรอง ให้หน่วยงานและผู้ปฏิบัติ

  22. นโยบายรัฐบาล การจัดทำแผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ • จังหวัด • กระทรวง • กรม 1. คำนึงถึงสภาพแวดล้อมภายนอก 2. เชื่อมโยงกับนโยบายรัฐบาล วาระแห่งชาติและการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี 3. ส่งเสริมการวางแผน ความคิดริเริ่มและการทำงานร่วมกันของ กลุ่มจังหวัด-จังหวัด / กระทรวง-กลุ่มภารกิจ-กรม 4. ตอบสนองความต้องการของประชาชน

  23. การพัฒนาระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์การพัฒนาระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ กลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจ ภาคส่งออก กระทรวงพาณิชย์ ก.การคลัง ก.อุตสาหกรรม ก.เกษตรและสหกรณ์ ท.ค. ค.ต. ศ.ก. กรมการประกันภัย ส.ป. ค.น. ส.อ. ท.ป.

  24. การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์กับการบริหารงานเชิงกลยุทธ์การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์กับการบริหารงานเชิงกลยุทธ์ การวางแผนกลยุทธ์ การนำแผนไปปฏิบัติ การควบคุม กำหนด กลยุทธ์ เพื่อ การบรรลุ วิสัยทัศน์ กำหนดวัตถุ ประสงค์ ระยะสั้นและ ระยะยาว จัดทำแผน ปฏิบัติการ ดำเนินการ ตามแผนที่ กำหนด ประเมินผล การปฏิบัติงาน ตามแผน พัฒนาวิสัยทัศน์ และพันธกิจ ขององค์กร การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ สร้างวัฒนธรรมการบริหารผลการปฏิบัติงาน • ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน • มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเพิ่ม • มาตรฐานการจัดสรรงบประมาณ • จัดทำในระดับแผนงานหรือ • โครงการ • การจัดสรรทรัพยากรขึ้นอยู่ • กับผลการปฏิบัติงาน ทบทวนแผนกลยุทธ์ กำหนด CSFs &KPIsด้วย Balanced Scorecard พัฒนากรอบ และ กระบวนการ ทดลอง ปฏิบัติ และขยายผล ติดตาม และ ปรับปรุง การสื่อสาร การมีส่วนร่วม และการสร้างข้อผูกมัด

  25. Balanced Scorecard * ค.ศ. 1992 Robert S. Kaplan และDavid P. Norton * วิธีการประเมินองค์กรอย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้น ประเมินในด้านที่สำคัญ ๆ *Balanceด้านต่าง ๆ ที่ต้องการประเมิน *Scorecard แสดงผลรวม/สรุปของการดำเนินงาน ทำให้ทราบผลการดำเนินการได้ภายใน เวลาที่รวดเร็ว

  26. วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) เป้าประสงค์รวม (Overall Goals) กลยุทธ์ที่สำคัญ Balanced Scorecard การเงิน ผู้รับบริการ องค์กร นวัตกรรม CSF CSF CSF CSF KPI KPI KPI KPI

  27. ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factor) “สิ่งที่เราต้องทำให้มีหรือให้เกิดขึ้น เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ ขององค์กรคืออะไร” ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก (Key Performance Indicator) “เราจะวัดความก้าวหน้าของการบรรลุปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ ได้อย่างไร”

  28. Balanced Scorecard Applied Model แนวคิดด้านผู้มีส่วนเกี่ยวข้องภายนอก องค์กร (External Perspective) การมองนอกองค์กรไปยังผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง เช่น รัฐบาล ลูกค้า ผู้รับบริการสาธารณชนและสิ่งแวดล้อมภายนอก แนวคิดด้านการเงิน (Financial perspective) แนวคิดด้านองค์ประกอบภายใน องค์กร (Internal Perspective) การมองภายในองค์กรถึงบุคลากร กระบวนการทำงาน โครงสร้างองค์กร รวมถึงการบริหารทรัพยากรบุคคล สมรรถนะของบุคลากร พฤติกรรมองค์กร วัฒนธรรม ค่านิยม กระบวนการ และแนวทางปฏิบัติ ความรับผิดชอบขององค์กรในด้านความประหยัด ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าของเงินและผลิตภาพ รวมไปถึงการทุจริตและประพฤติมิชอบ แนวคิดด้านนวัตกรรม (Innovation perspective) ความสามารถขององค์กรในอนาคต ความสามารถในการเปลี่ยนแปลง พัฒนา ปรับปรุง และปฏิบัติอย่างมี กลยุทธ์ มีความคิดริเริ่ม

  29. การพัฒนาระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์การพัฒนาระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ 1 การวิเคราะห์ วิสัยทัศน์และพันธกิจ 2 9 การกำหนด CSFs การรายงาน 8 3 การวิเคราะห์ ข้อมูล การกำหนด KPIs 7 4 การบันทึกและอนุมัติข้อมูล การกำหนด เป้าหมาย 6 5 การรวบรวม ข้อมูล การกำหนด แหล่งข้อมูล

  30. เกณฑ์การกำหนดปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จเกณฑ์การกำหนดปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ เกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์โดยมุ่งความสำคัญที่ผลผลิตและผลลัพธ์ เชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ขององค์กร เฉพาะเจาะจงและสามารถเข้าใจได้ เป็นที่ยอมรับจากระดับผู้บริหาร อยู่ภายใต้อิทธิพลการควบคุมขององค์กร

  31. เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลักเกณฑ์กำหนดตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก pecific- เฉพาะเจาะจง ชัดเจน S M A R T easurable - สามารถวัดได้ chievable- สามารถบรรลุได้ ealistic - สอดคล้องกับความเป็นจริง imely- วัดได้เหมาะสมตามช่วงเวลาที่กำหนด

  32. ค่าของตัวชี้วัด แสดงเป็นตัวเลขในลักษณะของ : ร้อยละ (Percentage) อัตราส่วน(Ratio) อัตรา(Rate) สัดส่วน (Proportion) จำนวน(Number) ค่าเฉลี่ย(Average or Mean)

  33. ภาพรวมของการวัดผลการปฏิบัติงานขององค์กรภาพรวมของการวัดผลการปฏิบัติงานขององค์กร เพิ่มยอดขายโดยเฉลี่ย 5 % ภายใน 5 ปี การวัดระดับองค์กร เพิ่มยอดขาย ความพอใจของลูกค้า 4 % ในปี 98 ที่ระดับ 4.5 การวัดระดับหน่วยปฏิบัติการ % ของเวลา 95% ของโครงการ 95 % ของ ที่ใช้กับลูกค้า เสร็จในเวลา/การใช้เงิน ลูกค้าพอใจ การวัดระดับบุคคล

  34. ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ตัวชี้วัดผลผลิต 1. คนไข้ที่หายป่วย 2. สัดส่วนของเส้นทางที่อยู่ ในสภาพที่ดี 3. จำนวนผู้ผ่านการอบรม ซึ่งมีความรู้เพิ่มขึ้น 4. อัตราคดีที่ลงโทษในระดับ ร้ายแรง 5. จำนวนโทรศัพท์ที่ได้รับ คำตอบที่พอใจ 1. จำนวนคนไข้ที่รับการรักษา 2. จำนวนเส้นทางที่ได้ซ่อมแซม 3. จำนวนโครงการอบรมและ จำนวนผู้เข้าอบรม 4. จำนวนคดีที่สอบสวน 5. จำนวนครั้งที่ตอบคำถาม ทางโทรศัพท์

  35. กระทรวงพาณิชย์ “เป็นองค์กรนำในการผลักดันให้ประเทศไทยเป็นหนึ่งในห้า ผู้นำทางการค้าต่างประเทศของเอเซีย ส่งเสริมให้มีการค้าเสรี และเป็นธรรม ตลอดจนให้บริการการพาณิชย์อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยร่วมมือกับภาคเอกชนอย่างใกล้ชิด” หนึ่งในห้าผู้นำทาง การค้าต่างประเทศ ส่งเสริมให้มีการค้า เสรีและเป็นธรรม ให้บริการพาณิชย์ อย่างมีประสิทธิภาพ

  36. ตัวชี้วัดประสิทธิภาพของกระทรวงพาณิชย์ตัวชี้วัดประสิทธิภาพของกระทรวงพาณิชย์ ตัวอย่าง KPI CSF - อัตราความพึงพอใจของผู้รับ บริการที่มีต่อบริการการพาณิชย์ - การให้บริการการพาณิชย์ได้ ตามมาตรฐานเวลาที่กำหนด - บริการพาณิชย์ที่เป็นเลิศ เหมาะสมกับเวลา ได้ มาตรฐานสูงสร้างความพึง พอใจให้กับผู้รับบริการ ฯลฯ ด้าน External - ใช้แผนพัฒนาบุคลากรที่มี ประสิทธิภาพ สอดคล้องกับ ความต้องการทางธุรกิจ มุ่ง พัฒนาให้บุคลากรมีความ สามารถ ในการทำงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีจุดมุ่งหมายที่จะบรรลุ วิสัยทัศน์ขององค์กร - อัตราความพีงพอใจของบุคลากร ต่อการพัฒนาบุคลากรของ กระทรวงพาณิชย์ - อัตราความพีงพอใจของผู้บริหาร ต่อคุณภาพของบุคลากรกระทรวง พาณิชย์ - อัตราความพึงพอใจของสาธารณชน ต่อคุณภาพของบุคลากรกระทรวง พาณิชย์ ด้าน Internal

  37. CSF KPI - อัตราการลาออก - อัตราการขาดงาน ด้านนวัตกรรม - ระบบเตือนภัยล่วงหน้าได้ถูก นำมาใช้ - ความมีประสิทธิภาพของระบบ เตือนภัยล่วงหน้า - ใช้ระบบเตือนภัยล่วงหน้าที่มี ประสิทธิภาพ ทำให้กระทรวง สามารถเตรียมตัวรองรับการ เกิดวิกฤตการณ์ต่าง ๆได้ทันเวลา - งบประมาณของกระทรวง พาณิชย์ได้รับการใช้อย่างมี ประสิทธิภาพ - อัตราการตอบแทนจาก งบประมาณที่ถูกใช้ ด้านการเงิน

  38. กรอบการประเมินผลปี 2548

  39. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 2547-48 มิติที่ 1: มิติด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ ส่วนราชการแสดงผลงานที่บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายตามที่ได้รับงบประมาณมาดำเนินการ เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขต่อประชาชนและผู้รับบริการ เช่น ผลสำเร็จในการพัฒนาการปฏิบัติราชการ เป็นต้น มิติที่ 2 : มิติด้านประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ส่วนราชการแสดงความสามารถในการปฏิบัติราชการ เช่น การลดค่าใช้จ่าย และ การลดระยะเวลาการให้บริการ เป็นต้น มิติที่ 3 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ส่วนราชการแสดงการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการในการให้บริการที่มีคุณภาพ สร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ มิติที่ 4: มิติด้านการพัฒนาองค์กร ส่วนราชการแสดงความสามารถในการเตรียมพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงขององค์กร เช่น การพัฒนาระบบฐานข้อมูล การบริหารความรู้ในองค์กร เป็นต้น

  40. แผนยุทธศาสตร์ ผลสัมฤทธิ์Results (60%) ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย มิติ 1 ประสิทธิผล แผนการบริหารเปลี่ยนแปลงตามประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวผลักดันEnablers/Drivers (40%) มิติ 2 คุณภาพ แผนพัฒนาคุณภาพ การเปลี่ยนแปลงเป็นการทั่วไป (ภาคบังคับ) มิติ 3 ประสิทธิภาพ แผนปรับปรุงประสิทธิภาพ มิติ 4 การเรียนรู้ และพัฒนา แผนเพิ่มขีดสมรรถนะ (16 %) (24%)

  41. ขั้นตอนการวางแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการปฏิบัติราชการขั้นตอนการวางแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการปฏิบัติราชการ เงินรางวัล /สิ่งจูงใจ จัดทำแผน ยุทธศาสตร์ นำยุทธศาสตร์ ไปปฏิบัติ ติดตามประเมินผล เตรียมการ ส.ค.47 ก.ย. 47 ต.ค.48 ต.ค 47

  42. สมรรถนะของบุคลากร • เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ • ความชัดเจน • การมีส่วนร่วม ฯลฯ ผลสัมฤทธิ์ จัดทำแผน ยุทธศาสตร์ นำยุทธศาสตร์ ไปปฏิบัติ ติดตาม +ประเมินผล เตรียมการ • ตั้งคณะทำงาน • ให้ความรู้ • ข้อมูล ฯลฯ แผนปฏิบัติการ เป้าหมาย

  43. ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 การเตรียมการ (Project Setup) การจัดทำวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ และประเด็นยุทธศาสตร์ (Vision, Goals and Strategic Issues) การวิเคราะห์สถานการณ์และศักยภาพ ของส่วนราชการ (SWOT Analysis) การกำหนด ยุทธศาสตร์ ในการพัฒนา ส่วนราชการ (Strategies) การกำหนด แผนปฏิบัติการ (Action Plans) • จัดตั้งคณะทำงาน • รวบรวมข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ศักยภาพของส่วนราชการในประเด็นที่เกี่ยวข้อง • ปัจจัยภายใน • Strength จุดแข็ง • Weakness จุดอ่อน • ปัจจัยภายนอก • Opportunity โอกาส • Threat ภัยคุกคาม • รับฟัง สอบถาม ความคาดหวังจาก Stakeholders • ส่วนราชการต้องการเป็นอะไร • มีเป้าประสงค์และเป้าหมายอย่างไร • มีประเด็นทางยุทธศาสตร์ที่สำคัญอะไรที่ต้องได้รับการพัฒนา • ส่วนราชการต้องทำสิ่งใดบ้างเพื่อให้ผลการปฏิบัติงานบรรลุตามวิสัยทัศน์และเป้าประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด • กำหนดตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย • การนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติในรูปของแผนงาน/ โครงการ ขั้นตอนพื้นฐานในการวางแผนยุทธศาสตร์

  44. กลไกและวิธีการในการจัดทำข้อตกลงฯ ปี 48 • วิสัยทัศน์ • พันธกิจ • ประเด็นยุทธศาสตร์ • เป้าประสงค์ • ตัวชี้วัด/เป้าหมาย • กลยุทธ์ • โครงการ (กลุ่มภารกิจ/กรม) ส่วนราชการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ กระทรวง/กลุ่มภารกิจ เสนอ คณะที่ปรึกษา ต.ค.47 เจรจาตัวชี้วัด/ เป้าหมาย ประกาศให้ ประชาชนทราบ พ.ย. 47 พ.ย. 47 เสนอ ค.ร.ม.และลงนาม คำรับรองระดับกระทรวง/กลุ่มภารกิจ เสนอยุทธศาสตร์กรมต่อ คกก.เจรจาฯ /อ.ก.พ.ร. และลงนามคำรับรองระดับกรม รับสิ่งจูงใจตาม ระดับของผลงาน ม.ค. 48 ปรับยุทธศาสตร์กรมให้สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์กระทรวง/กลุ่มภารกิจ ส่วนราชการดำเนินการ ตามคำรับรอง ประเมินผล พ.ย. 47

  45. คำรับรองการปฏิบัติราชการคำรับรองการปฏิบัติราชการ

  46. การกำหนดเป้าหมาย/เกณฑ์การให้คะแนนการกำหนดเป้าหมาย/เกณฑ์การให้คะแนน ผลงานประจำปี งบประมาณ กรอบการประเมิน/ประเด็น การประเมินผลการปฏิบัติราชการ น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2545 2546 1 2 3 4 5 • มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล • ตามพันธกิจ • การประเมินผลตามแผน • ยุทธศาสตร์ของ • ส่วนราชการ • ผลสำเร็จในการพัฒนาการ • ปฏิบัติราชการ 1. ระดับความสำเร็จของ ร้อยละถ่วงน้ำหนักใน การบรรลุเป้าหมาย ตามแผนยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ 2. ร้อยละของความ สำเร็จตามเป้าหมาย ผลผลิตของส่วน ราชการ(ตามเอกสาร งบประมาณรายจ่าย)

  47. การตั้งเป้าหมาย (Target)

  48. • พิจารณาจากเป้าหมายระดับชาติ (เป้าหมายรัฐบาล วาระแห่งชาติ กระทรวงเจ้าสังกัด) ผลงาน เป้าหมายของรัฐบาลภายใน 1 ปี จัดสรร Resource ปี 2543 2544 2545 2546 2547 2542

  49.  • พิจารณาแนวโน้มในอดีต (Trend) ผลงาน เส้นแนวโน้ม (Trend) 2543 2544 2545 2546 2547 ปี 2542

  50. ผลการดำเนินงาน Stretch Targeting Self-Improvement ปี 2543 2544 2545 2546 2547 2548 • พิจารณาในระดับท้าทาย (Stretch Targeting)

More Related