1 / 25

บทที่ 11 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM

บทที่ 11 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM. ภาคการศึกษา 1/2552 อ.นัทธปราชญ์ นันทิวัฒน์กุล. ประเด็นบทที่ 11. - ความหมายของโครงการ - ลักษณะของปัญหา - การบริหารโครงการ - การสร้าง PERT/CPM. การประเมินวิเคราะห์โครงการ (PERT). PERT : P = program or project or performance

iris-park
Download Presentation

บทที่ 11 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 11 การวิเคราะห์โครงข่ายงานPERT/CPM ภาคการศึกษา 1/2552 อ.นัทธปราชญ์ นันทิวัฒน์กุล

  2. ประเด็นบทที่ 11 • - ความหมายของโครงการ • - ลักษณะของปัญหา • - การบริหารโครงการ • - การสร้าง PERT/CPM

  3. การประเมินวิเคราะห์โครงการ (PERT) • PERT : • P = program or project or performance • E = Evaluation • R = Review • T = Technique

  4. PERT คือ • วิธีการที่ในการวิเคราะห์กระบวนการหรือกลไกการทำงานของโครงการ งาน หรือ แผนงาน ต่างๆ ซึ่งจะเป็นการควบคุม ลดความยุ่งยากและการทำงานซ้ำซ้อน CPM = Critical Path Method การพิจารณาสายงานวิกฤต

  5. CPM = Critical Path Methodการพิจารณาสายงานวิกฤต • อาศัยข่ายงาน (network) แสดงความสัมพันธ์ของงานต่างๆ ในโครงการที่มีตำแหน่งงานเป็นจุดรวมและจุดแยกของกลุ่มงานต่างๆ • ข้อแตกต่างของ CPM และ PERT คือ CPM จะแสดงงานและระยะเวลาของงานที่จะเกิดปัญหาขึ้นในอนาคต

  6. ประโยชน์ของ PERT/CPM • เพื่อช่วยในด้านการวางแผนโครงการ • เพื่อช่วยในการควบคุมโครงการ • เพื่อช่วยในการบริหารทรัพยากรที่ใช้ในโครงการ • เพื่อช่วยในการบริหารโครงการ

  7. ทรัพยากรที่จำเป็นต่อการสร้าง PERT/CPM • data ของงาน,โครงการ,องค์กร • ลักษณะงาน • ความเกี่ยวข้อง, ความเชื่อมโยงของงาน • ผู้รับผิดชอบงาน • อำนาจการตัดสินใจ • เวลา และงบประมาณ • อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ ความเกี่ยวข้องกับองค์กรภายนอก • แนวคิดการกำหนดเกณฑ์การตัดสินใจ อาทิ efficiency , maximax maximin

  8. สิ่งที่ต้องดำเนินการเพื่อการวิเคราะห์สิ่งที่ต้องดำเนินการเพื่อการวิเคราะห์ • การวิเคราะห์ data • ระบบ กระบวนการ และกลไก • ความคิด (Concept) • ปัจจัยเข้า (Input) • กระบวนการ (Process) • ผลผลิต (Product) • ความเชื่อมโยงของงาน (net work) • ลำดับชั้นของงาน

  9. สิ่งที่ต้องทราบในการสร้าง PERT • สัญลักษณ์ • ตำแหน่ง • งานเสริมหรืองานจำลอง (dummy activity) • ข้อควรระวัง สายงานต้องไม่มีการไหลย้อนกลับ node Dummy activity

  10. วิธีการวิเคราะห์ PERT/CPM • ES = earliest start (เวลาที่เร็วที่สุดที่จะเริ่มงานได้) • EF = earliest finish (เวลาที่เสร็จสิ้นเร็วที่สุดของงาน) • LS = Latest start (เวลาที่ช้าที่สุดที่จะเริ่มงานได้) • LF = Latest finish(เวลาที่เสร็จสิ้นช้าที่สุดของงาน) • FS = free slack (ระยะเวลาของงานที่จะล่าช้าได้โดยไม่มีผลกระทบต่องานอื่น) • TS = total slack time (ระยะเวลารวมของงานที่จะล่าช้าได้โดยไม่มีผลของโครงการ) • t= time (เวลาของงาน)

  11. ขั้นตอนในการสร้าง PERT ความสำคัญ ของงาน งานหลัก งานรอง งานย่อย • การวิเคราะห์งาน • ลักษณะงาน โครงการ • ความเกี่ยวข้อง ความเชื่อมโยงของงาน • เวลาที่ใช้ ของแต่ละงาน • ลำดับของงาน • ต้นทุนหรืองบประมาณที่เกิดขึ้นในแต่ละงาน • ผู้รับผิดชอบ • ทรัพยากรที่ใช้ • การสร้างตาราง PERT งานที่ไม่เกี่ยวข้อง

  12. กรณีตัวอย่าง การทำวิจัย • การวิเคราะห์งาน • ลักษณะงาน • ความเกี่ยวข้อง ความเชื่อมโยงของงาน • เวลาที่ใช้ ของแต่ละงาน • ลำดับของงาน • ต้นทุนหรืองบประมาณที่เกิดขึ้นในแต่ละงาน • ผู้รับผิดชอบ • ทรัพยากรที่ใช้ • การสร้างตาราง PERT

  13. ลักษณะของ PERT แบบที่หนึ่ง A B D C E F G H I J 13 ลำดับงาน K L M

  14. ลักษณะของ PERT แบบที่สอง A G B D E F I C H J 11 ลำดับงาน K L M

  15. วิธีการวิเคราะห์ • การกำหนดเวลาอย่างเร็วที่สุด(Earliest Time) • การกำหนดเวลาอย่างช้าที่สุด(Latest Time) • การกำหนดงานวิกฤต

  16. ES ES ES ES ES EF EF EF EF EF C D A B E 6 0 14 0 4 18 14 6 3 4 3 8 4 4 2 การกำหนดเวลาอย่างเร็วที่สุด(Earliest Time) • เป็นการคำนวณหาว่าแต่ละกิจกรรมในโครงการจะเริ่มต้นทำงานได้เร็วที่สุด (ES) เมื่อใด และจะเสร็จอย่างรวดเร็วที่สุด(EF)ได้เมื่อใด โดยคำนวณจากจุดเริ่มต้นของโครงการจนสิ้นสุดโครงการ เริ่มต้น

  17. ES ES ES ES EF EF EF EF ES EF A C B E D 0 0 4 6 14 18 3 6 14 4 3 4 4 8 2 6 1 4 14 0 4 18 4 14 6 LS LS LS LS LS LF LF LF LF LF เริ่มต้น การกำหนดเวลาอย่างช้าที่สุด(Latest Time) • เป็นการคำนวณหาเวลาในการดำเนินโครงการอย่างช้าที่สุดแล้วแต่ละกิจกรรมในโครงการจะเริ่มต้นทำงานได้เมื่อใด(LS) และจะแล้วเสร็จเมื่อใด (LF) โดยคำนวณจากจุดสิ้นสุดโครงการย้อนกลับไปยังจุดเริ่มต้นโครงการ

  18. การกำหนดงานวิกฤต • การนำเวลาในการทำงานอย่างรวดเร็วที่สุดลบเวลาในการทำงานอย่างช้าที่สุด เพื่อกำหนดกิจกรรมวิกฤต ซึ่งก็คือการกำหนดเส้นทางที่เชื่อมต่อกิจกรรมวิกฤตเข้าด้วยกัน • วิธีการกำหนดงานวิกฤต

  19. การคำนวณข่ายงานแบบ PERT • เป็นการวิเคราะห์ข่ายโครงการในด้านของเวลาและความเป็นไปได้ในการบริหารโครงการ • ระยะเวลาที่ทำกิจกรรมเสร็จได้เร็วที่สุด(Optimistic time) : a • ระยะเวลาที่ทำกิจกรรมเสร็จได้ช้าที่สุด(Pessimistic time) :b • ระยะเวลาที่ทำกิจกรรมเสร็จได้เป็นส่วนมาก(most likely time) : m

  20. ความน่าจะเป็นของโครงการความน่าจะเป็นของโครงการ ทดสอบสมมติฐาน โอกาสในการที่จะเร่งรัดโครงการ H0 : สามารถเร่งรัดโครงการได้ Ha : ไม่สามารถเร่งรัดโครงการได้

  21. การเร่งรัดโครงการ • เป็นการจัดการโครงการที่ทำให้โครงการเสร็จได้เร็วขึ้น โดยอาจทำได้โดยการควบคุมงานวิกฤตให้เสร็จตามกำหนดหรือเร็วกว่ากำหนด โดยการเร่งรัดโครงการนี้อาจทำให้ส่งผลต่อต้นทุนของโครงการให้เพิ่มขึ้น หรืออาจจะลดลงก็ได้ • การวิเคราะห์การเร่งรัดโครงการ • เวลาดำเนินงานปกติ (normal time : Tn) • เวลาดำเนินงานอย่างเร่งรัด (crash time : Tc) • ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานปกติ (normal cost : Cn) • ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานอย่างเร่งรัด (crash cost : Cc) Avg. crash cost คือ ค่าใช้จ่ายในการเร่งรัดโครงการต่อหนึ่งหน่วยเวลา

More Related