310 likes | 648 Views
นโยบายการปฏิรูประบบสาธารณสุข. 26 ส .ค. 2557. นพ. ศุภ กิจ ศิริลักษณ์ พ.บ., อ.ว., MPHM ที่ ปรึกษาระดับกระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ ด้านเวชกรรม ป้องกัน. งานวิจัยของ HITAP. HITAP. สถานการณ์ปัญหา. Dr.Supakit Sirilak. สังคมผู้สูงอายุ. สัดส่วน 14.7% เจ็บป่วยเรื้อรังมากขึ้น
E N D
นโยบายการปฏิรูประบบสาธารณสุขนโยบายการปฏิรูประบบสาธารณสุข 26 ส.ค. 2557 นพ. ศุภกิจ ศิริลักษณ์ พ.บ., อ.ว., MPHM ที่ปรึกษาระดับกระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิด้านเวชกรรมป้องกัน
งานวิจัยของ HITAP HITAP
สถานการณ์ปัญหา Dr.Supakit Sirilak สังคมผู้สูงอายุ • สัดส่วน 14.7% • เจ็บป่วยเรื้อรังมากขึ้น • ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูงมาก
ประชากรโลกกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุประชากรโลกกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ญี่ปุ่น ไทย โลก
Dr.Supakit Sirilak การคาดประมาณประชากรไทย
Expenditure per admission of Thai patients, 2009 Ref: Bundhamcharoen K., Patcharanarumol W., Pagaiya N., and Tangcharoensathien V. Demographic and Health Transition: health systems challenges and future direction(chapter 4). In Jones G., and Im-em W., eds. Impact of demographic changes in Thailand, 65-84. Bangkok : United Nations Population Fund, 2011.
Dr.Supakit Sirilak สถานการณ์ปัญหา การเปลี่ยนจากโรคติดเชื้อไปสู่กลุ่มโรคไม่ติดต่อ • เพิ่มจากปี 2548 จำนวน 2 เท่า • สัดส่วน 70% ของโรคทั้งหมด • ความดัน 10 ล้าน เบาหวาน 3 ล้าน หัวใจ ป่วยสูงสุด • มะเร็งตายสูงสุด และแนวโน้มเพิ่มขึ้น
Source : Burden of disease in Thailand 2009, BOD working group
Source : Burden of disease in Thailand 2009, BOD working group
Dr.Supakit Sirilak • ปัจจัยเสี่ยงหลัก 1. การบริโภคอาหารไม่เหมาะสม (Unhealthy Diet) • บริโภคผักและผลไม้น้อย • บริโภค หวาน มัน เค็ม มากไป • สูบบุหรี่ และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาก 2. การออกกำลังกายไม่เพียงพอ (Physical Inactivity) 3. อารมณ์ ความเครียด 3 อ. ทำให้เกิดภาวะ 1. ภาวะน้ำหนักเกิน โรคอ้วน 2. ภาวะความดันโลหิตสูง 3. ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง 4. ภาวะไขมันในเลือดสูง 5. ภาวะ Metabolic Syndrome
Dr.Supakit Sirilak การบริโภคไม่เหมาะสม (Unhealthy Diet) บริโภค หวาน มัน เค็ม มากไป • ช่วง 2 ทศวรรษการบริโภคน้ำตาลเพิ่ม 3 เท่า เป็น 36.4 กก./คน/ปี ในปี 2550 เกินเกณฑ์มาตรฐาน 1.8–2.4 เท่า • การบริโภคโซเดียมคลอไรด์ไม่ควรเกิน 6,000 มก./คน/วัน หรือโซเดียมไม่ควรเกิน 2,400 มก./คน/วัน แต่บริโภคเกิน 1.4-2.3 เท่า ในปี 2550 • การบริโภคไขมัน 12 ช้อนชา/คน/วัน เกินกว่าคำแนะนำ 2 เท่า • มูลค่าการโฆษณาน้ำอัดลมและขนมขบเคี้ยว 4,506 ล้านบาท เป็น 1 ใน 3 ของการโฆษณาอาหารทั้งหมดในปี 2551 • ประมาณการว่าเด็กและเยาวชนใช้จ่ายซื้อขนมขบเคี้ยว 9,800 บาท/คน/ปี รวมทั้งสิ้น 170,000 ล้านบาท/ปี ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน ในเด็ก 1.6 ล้านคน ผู้ใหญ่ 17.6 ล้านคน และ อ้วนลงพุง 16.2 ล้านคน มีการใช้ยาลดความอ้วนเพิ่มขึ้น 5.5 เท่า สำหรับในวัยรุ่นหญิงเพิ่มสูงขึ้นถึง 16.3 เท่า ในช่วง 6 ปีที่ผ่านมา
Dr.Supakit Sirilak โรคติดต่ออุบัติซ้ำ อุบัติใหม่ ยังคุกคามสังคม • HIV-AIDS มา TB เพิ่ม • รอดจาก SARS • หวัดนกระบาด 4 รอบ ป่วย 25 ตาย 17 • หวัด 2009 ติดเชื้อเป็นล้าน ตายหลายร้อย • MERS-CoVยังไม่มา ป่วย 536 ตาย 145 • อีโบลา(EVD/EHF)อัตราป่วยตาย 90%
Dr.Supakit Sirilak ปัญหาตามกลุ่มวัย • IQ ต่ำกว่ามาตรฐาน เฉลี่ยต่ำกว่า 100 • พัฒนาการเด็กล่าช้ากว่า 20% • เด็กอ้วน ร้อยละ 9.3 • เด็กจมน้ำเสียชีวิต • แม่ท้องไม่พร้อม ปีละกว่า 1 แสนคน (ร้อยละ 16 ของการตั้งท้อง) • อุบัติเหตุจราจร สูงขึ้น (ผลจากความเสี่ยง คือ ดื่มแอลกอฮอล์ร้อยละ 70) • ผู้พิการขึ้นทะเบียนกว่า 2 ล้านคน • ไม่มี นโยบายการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
Dr.SupakitSirilak เด็กเกิดลด คุณภาพแย่ 1. ท้องไม่พร้อม teenage preg > 130,000/ปี 2. ภาวะผิดปกติแต่กำเนิด Thalassemia, PKU, Down syndrome 3. พัฒนาการเด็ก ช้ากว่าเกณฑ์ 20%, LD, ADHD 4. ศูนย์เด็กเล็ก >70% ไม่มีคุณภาพ 5. ภาวะโภชนาการขาด (7.6%)และเกิน(9.3%) 6. ภาวะผิดปกติทางสายตา (200,000)และการได้ยิน (400,000)
Dr.Supakit Sirilak การใช้บริการสุขภาพ • เข้าถึงบริการมากขึ้น แต่ยังแตกต่างระหว่างภาคระหว่างกลุ่ม • ยังมีความเหลื่อมล้ำ ของชุดสิทธิประโยชน์ของ 3 กองทุน • มีการปฏิเสธการส่งต่อดีขึ้นแต่ยังสูง การอภิบาลระบบการเงินการคลังสุขภาพ • ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ สูงขึ้นเร็วกว่า GDP(4.1% / GDP) • เงินภาพรวมมีพอ แต่มีโรงพยาบาลขาดทุน ระดับ 7 (รุนแรงสุด) จำนวน 175 แห่ง
นโยบายการพัฒนาด้านสาธารณสุขนโยบายการพัฒนาด้านสาธารณสุข เป้าประสงค์ (Goal) ระบบสุขภาพที่มีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ สมานฉันท์ บนการมีส่วนร่วมของภาคประขาชน เพื่อประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข โดยมีมาตรการ 3 ระยะ • ระยะเร่งด่วน ทำทันที (ปัจจุบัน-1 ต.ค. 2557) • ระยะกลาง ทำใน 1 ปี (1 ต.ค. 2557 – 30 ก.ย. 2558) • ระยะยาว ทำใน 3 ปี (1 ต.ค. 2558 – 30 ก.ย. 2561)
มาตรการระยะเร่งด่วน • ร่วมสร้างกระบวนการสมานฉันท์ • พัฒนาระบบบริการให้ดียิ่งขี้น (The Better Service) • ได้พบหมอ • รอไม่นาน • ยาในมาตรฐานเดียวกัน • สร้างขวัญกำลังใจ • ปรับระบบค่าตอบแทนที่เป็นธรรม • จัดสรรตำแหน่งเพื่อบรรจุเป็นข้าราชการ • มีมาตรการให้ความช่วยเหลือแก่บุคลากรทางการแพทย์ที่ได้รับผลกระทบ • สร้างระบบธรรมาภิบาลและกลไกเฝ้าระวัง ตรวจสอบถ่วงดุล • มาตรการบำบัดรักษายาเสพติด • การแก้ปัญหาแรงงานต่างด้าว
มาตรการระยะกลาง 7. ปฏิรูประบบบริการเป็นเขตบริการสุขภาพ • ปฏิรูปการเงินการคลังด้านสุขภาพ • ปฏิรูประบบข้อมูลสุขภาพ 10. พัฒนาและบังคับใช้กฎหมาย 11. พัฒนากลไก การสร้างเอกภาพในการกำหนดนโยบายสาธารณสุขของประเทศ 12. การเตรียมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน มาตรการระยะยาว 13. จัดทำแผนการลงทุน 14. จัดทำแผนผลิตและพัฒนากำลังคน
Dr.Supakit Sirilak ลักษณะระบบบริการสุขภาพไทย • ให้บริการสาธารณสุขแบบผสมผสาน • ส่งเสริมสุขภาพ • ป้องกันและควบคุมโรค • รักษาพยาบาล • ฟื้นฟูสภาพ • การวางสถานบริการตามเขตการปกครอง • บริการเป็นของภาครัฐมากกว่า 80%
ระบบบริการสุขภาพของไทยระบบบริการสุขภาพของไทย ศูนย์แพทย์เฉพาะทาง โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป (95) บริการตติยภูมิจังหวัด ( 200,000-2M.) โรงพยาบาลชุมชน (744)บริการทุติยภูมิอำเภอ (10,000-100,000) ศสมช สาธารณสุขมูลฐานหมู่บ้าน, ชุมชน Dr.Supakit Sirilak รพ.สต. (9,750) บริการปฐมภูมิตำบล (1,000-10,000) กสคSELF CAREครอบครัว
โครงสร้างระบบ NHA (NHDB) สปสช. กสธ. สปส./กรม บช กลาง ระบบตรวจราชการและระบบสนับสนุน คกก.เขตสุขภาพประชาชน อปสข. คกก.เขตสุขภาพ สปสช.เขต สนง.สาธารณสุขเขต (สสข.) กวป. + สสจ. คปสอ. +(DHS) สสอ. รพศ./รพท./รพช. รพ สต.
หลักการ • ขนาดพื้นที่ที่เหมาะสม 4-8 จังหวัด, 4-6 ล้านคน(Economy of Scale, Scope, Speed) • การส่งต่อไร้รอยต่อ • การเพิ่มคุณภาพ, ประสิทธิภาพ • การกระจายอำนาจจากส่วนกลาง • การสร้างกลไกที่มีเอกภาพระหว่าง • ผู้ซื้อบริการ ผู้ให้บริการ และผู้กำกับดูแล
องค์ประกอบคณะกรรมการเขตสุขภาพ (ประชาชน) สูตร 1-12-12-1= 25 • ประธานเลือกกันเองในกรรมการ • ผู้ซื้อบริการ 3 (สปสช., สปส., กรมบัญชีกลาง) • ผู้รับบริการ 9 (4: ข้าราชการ 1 ลูกจ้างประกันสังคม 1 บัตรทอง 2) • (+3 : อบจ. เทศบาล อบต.) • (+2: อสม.) • ผู้กำกับ ติดตาม ประเมินผล 5 (ผตร., สธน., ศูนย์เขต, สสจ., สสอ.) • ผู้ให้บริการ 7 (รพ.รัฐนอกสังกัด 2, รพ.เอกชน, รพศ.ที่ตั้ง สสข., รพศ./รพท., รพช., รพ.สต.) • ผอ. สสข. เลขา อยู่ระหว่างปรับปรุง
องค์ประกอบคณะกรรมการเขตสุขภาพ (กสธ) • ประธานผู้แทน กสธ. • ผู้แทน อปท 1 ผู้แทน อสม.1 • ผู้แทน สสจ. 1, สสอ. 1 ) • ผู้แทน รพ.รัฐนอกสังกัด 1 รพ.กลาโหม 1, รพ.เอกชน 1, รพศ/รพท. 1, รพช.1, รพ.สต.1 • ผอ. สสข. เลขา
บทบาทหน้าที่คณะกรรมการเขตสุขภาพบทบาทหน้าที่คณะกรรมการเขตสุขภาพ 1. กำหนดทิศทาง แนวนโยบาย กลยุทธ์ ความคาดหวังและเป้าหมายความสำเร็จ ที่สอดคล้องกับนโยบายระดับชาติ ปัญหาสุขภาพและความต้องการของประชาชน (Need) ในเขตพื้นที่ ทั้งส่งเสริมสุขภาพ ควบคุมป้องกันโรค รักษาพยาบาล ฟื้นฟูสุขภาพ และคุ้มครองผู้บริโภค 2. กำหนดบทบาทและแนวทางดำเนินการของผู้ซื้อ ผู้ให้บริการ และผู้กำกับและประเมินผลให้ชัดเจน 3. กำหนดข้อตกลงในการจ่ายเงิน ตามกรอบข้อตกลงระหว่าง กระทรวงสาธารณสุข กับ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือกองทุนอื่นๆ หรือสนับสนุนงบประมาณ ระหว่างผู้ซื้อและผู้ให้บริการ โดยมีการกำหนดผลงานบริการที่ต้องการ การกำหนดตัวชี้วัดผลงานที่ต้องการร่วมกัน 4. ติดตาม กำกับ และประเมินผลการดำเนินงาน 5. วิเคราะห์และสรุปผลการดำเนินงานประจำปี รายงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6. อื่นๆ ที่เป็นนโยบายสุขภาพของประเทศ อยู่ระหว่างปรับปรุง
สำนักงานสาธารณสุขเขต กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ กลุ่มงานบริหารการเงินการคลัง กลุ่มงานบริหาร ทรัพยากรบุคคล กลุ่มงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ กลุ่มงานอำนวยการ • งานแผนงานและยุทธศาสตร์ • งานข้อมูลข่าวสาร • งานเทคโนโลยีและสารสนเทศ • งานด้านงบลงทุน • งานควบคุม กำกับและประเมินผล • งานวิจัยและโครงการพิเศษ • งานบริหารการเงินการ คลัง • งานบริหารและจัดการงบประมาณ • การบริหารเวชภัณฑ์และวัสดุการแพทย์ • งานการเงินและบัญชี • งานวางแผนทรัพยากรบุคคล • งานสรรหาและคัดเลือก บุคลากร • งานบริหารทรัพยากรบุคคล • งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล • งานระบบสารสนเทศและ ร่วมบริการ • งานพัฒนาสายอาชีพและวางแผนสืบทอดตำแหน่ง • งานบริหาร • งานสารบรรณงานธุรการ • งานการเงินและบัญชี • งานพัสดุและยานพาหนะ • งานนิติการ • งานยุทธศาสตร์ Service Plan • งานบริหารจัดการ ระบบบริการสุขภาพ • งานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ • งานขับเคลื่อน Service Plan
Dr.Supakit Sirilak ครอบครัวไทยที่พึงประสงค์ • มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) • มี พฤติกรรม 3 อ. (Good health habit) • อาหาร • ออกกำลังกาย • อารมณ์ • มีส่วนร่วมกิจกรรมในชุมชน (Participation in Community) • ใช้บริการอย่างเหมาะสม (Rational use of Health service)