410 likes | 1.02k Views
มาตรการติดตั้ง VSD ควบคุมความเร็วรอบของมอเตอร์. Inverter หรือ Variable Speed Drive ( VSD ). เป็นอุปกรณ์ควบคุมความเร็วมอเตอร์ โดยการปรับค่าความถี่ของ แรงดันไฟฟ้าที่ป้อนให้กับมอเตอร์ โดยต่อคั่นระหว่างแหล่งจ่าย ไฟกับมอเตอร์ และมีความสัมพันธ์ ดังนี้.
E N D
มาตรการติดตั้ง VSD ควบคุมความเร็วรอบของมอเตอร์
Inverter หรือ Variable Speed Drive ( VSD ) เป็นอุปกรณ์ควบคุมความเร็วมอเตอร์ โดยการปรับค่าความถี่ของ แรงดันไฟฟ้าที่ป้อนให้กับมอเตอร์ โดยต่อคั่นระหว่างแหล่งจ่าย ไฟกับมอเตอร์ และมีความสัมพันธ์ ดังนี้ ความเร็วรอบ ( รอบ / นาที ) = 120 * ความถี่แรงดันไฟฟ้า ( Hz ) จำนวนขั้วแม่เหล็ก กำลังงานที่ใช้ αความเร็วรอบ3 Pαn3 VSDสามารถนำมาใช้กับมอเตอร์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ในงานที่มอเตอร์ไม่จำเป็นต้องมีความเร็วคงที่
เมื่อมอเตอร์ทำงานที่สภาวะโหลดต่ำๆ โดยมอเตอร์ยังมีความเร็ว ตามพิกัด เป็นการสูญเสียพลังงานเกินความจำเป็น จึงสามารถนำ VSD มาปรับความถี่ของแรงดันไฟฟ้าที่จะจ่ายให้กับมอเตอร์ลง เพื่อ ลดความเร็วรอบของมอเตอร์ รวมทั้งลดกำลังไฟฟ้าที่จ่ายให้กับมอเตอร์ VSD สามารถทราบสถานะโหลดโดยรับสัญญาณจาก Sensor ที่เป็น Analog input ขนาด 4 - 20 mA หรือ 0 - 10 Vdc ใน รูปแบบต่างๆ เช่น อุณหภูมิ ความดัน กระแส และ กำลังไฟฟ้า เป็นต้น การใช้งานที่เหมาะสม VSD ใช้ได้กับมอเตอร์ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนความเร็วรอบได้ เช่น มอเตอร์ปั๊มชนิดต่างๆ พัดลม คอมเพรสเซอร์ เครื่องฉีดพลาสติก เครื่องโม่ เครื่องบด เป็นต้น
VSD ควบคุมความเร็วรอบ Chilled Water Pump ΔT VSD
มาตรการติดตั้ง VSD ที่ระบบ Chilled Water Pump • สภาพเดิม:มอเตอร์ปั๊มน้ำเย็นของโรงงานจำนวน 3 ตัว ขนาดตัวละ 100 HP ใช้งานครั้งละ 2 ตัว มีการเปิดวันละ 2 เครื่อง และสลับการทำงานกันทุกวัน เพื่อจ่ายน้ำเย็นให้กับ Air Handing Unit และ Fan Coil Unit เพื่อการปรับอากาศภายในโรงงาน • การควบคุม:มอเตอร์ปั๊มหมุนด้วยความเร็วรอบคงที่ การส่งน้ำเย็น โดยคนควบคุมด้วยการหรี่วาล์ว • โหลด:Air Handling Unit 15 เครื่องในพื้นที่ผลิต Temp Set Point 23 oC : Fan Coil Unit 22 เครื่อง ในพื้นที่สำนักงาน Temp Set Point 25 oC • การตรวจวัด:บันทึกการใช้พลังงานไฟฟ้าของ Chilled Water Pump ทั้ง 3 เครื่องเป็นเวลาเครื่องละ 7 วัน
T FCU T AHU T AHU Auto Bypass Valve Chiller Plant Room P-1 P-2 Return header Supply header CHP-1,2,3 75 kW CH-1 CH-2 CH-3 Chiller 500 Ton 3 Units CHP-1 CHP-2 CHP-3 Flow rate point CDP-1,2,3 30 kW CDP-1 CDP-3 CDP-2 CT-1 CT-2 CT-3
มาตรการติดตั้ง VSD ที่ระบบ Chilled Water Pump • การปรับปรุง:โรงงานจะติดตั้ง VSD( Inverter) 3 ตัว ที่ Chilled Water Pump ทั้ง 3 เครื่อง เพื่อควบคุมอัตราการไหลของน้ำเย็นในระบบให้ลดลงจาก 4,339 litre/min เหลือ 3,344 litre/min • การควบคุม:ปรับลดความเร็วรอบของมอเตอร์ปั๊มลงมาที่ 42 Hz • โหลด :Air Handling Unit 15 เครื่องในพื้นที่ผลิต Temp Set Point 23 oC : Fan Coil Unit 22 เครื่อง ในพื้นที่สำนักงาน Temp Set Point 25 oC • การตรวจวัด:บันทึกการใช้พลังงานไฟฟ้าของ Chilled Water Pump ทั้ง 3 เครื่องเป็นเวลาเครื่องละ 7 วัน
แผงไฟฟ้า แผงไฟฟ้า CB CB Data Logger Data Logger Inverter M M ปั๊มน้ำเย็น ปั๊มน้ำเย็น ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง วิธีตรวจวัด
สรุปผลการตรวจสอบการใช้พลังงานก่อนปรับปรุง (Baseline Audit) มาตรการติดตั้ง VSD ที่ระบบ Chilled Water Pump พลังงานไฟฟ้าที่ใช้เฉลี่ย Chilled Water Pump NO.1 1,767.0 kWh / วัน Chilled Water Pump NO.2 1,681.7 kWh / วัน Chilled Water Pump NO.3 1,784.4 kWh / วัน ค่าไฟฟ้าเฉลี่ย (วันที่สมัครเข้าร่วมโครงการ) 2.81 บาท/kWh
Post audit Chiller 3 เครื่อง Chilled Water Pump 3 เครื่อง
VSD ควบคุม Chilled Water Pump 3 เครื่อง
ความถี่ 42 Hz การติดตั้ง Data Logger Amp meter
สรุปผลการตรวจสอบการใช้พลังงานหลังปรับปรุง (Post Audit) มาตรการติดตั้ง VSD ที่ระบบ Chilled Water Pump พลังงานไฟฟ้าที่ใช้เฉลี่ย Chilled Water Pump NO.1 1,102.8 kWh / วัน Chilled Water Pump NO.2 1,091.4 kWh / วัน Chilled Water Pump NO.3 1,077.4 kWh / วัน
วิธีการประเมินผลประหยัดวิธีการประเมินผลประหยัด พลังงานไฟฟ้าที่ใช้เฉลี่ยต่อวันของ Chp ก่อนปรับปรุง (Baseline) = kWh1 กำลังไฟฟ้าที่ใช้เฉลี่ยต่อวันของ Chp หลังปรับปรุง (Post Retrofit) = kWh2 พลังงานไฟฟ้าที่ประหยัดได้ (kWh/ปี) = (kWh1 – kWh2) x จำนวนวันใช้งานต่อปี จำนวนเงินที่ประหยัดได้ (บาท/ปี) = พลังงานไฟฟ้าที่ประหยัดได้ x ค่าไฟฟ้า
ผลการประหยัดพลังงานไฟฟ้า ; (kWh/ปี)
การวิเคราะห์วงเงินสิทธิประโยชน์ทางภาษีตามผลประหยัดที่เกิดขึ้นจริงการวิเคราะห์วงเงินสิทธิประโยชน์ทางภาษีตามผลประหยัดที่เกิดขึ้นจริง ผลการประหยัดที่เกิดขึ้นจริง = ผลประหยัดพลังงานไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจริง x ค่าไฟฟ้า ณ วันที่สมัครเข้าร่วม = 290,284.24 x 2.81 = 815,698.71 บาท วงเงินภาษีสนับสนุนที่ได้รับการสนับสนุน = ผลการประหยัดที่เกิดขึ้นจริง x อัตราภาษีของสถานประกอบการ 30 % = 815,698.71 x 0.3 = 244,709.61 บาท
การวิเคราะห์วงเงินสิทธิประโยชน์ทางภาษีตามผลประหยัดที่เกิดขึ้นจริงการวิเคราะห์วงเงินสิทธิประโยชน์ทางภาษีตามผลประหยัดที่เกิดขึ้นจริง
มาตรการติดตั้ง VSD ที่สมัครเข้าร่วมโครงการ