310 likes | 625 Views
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน Computer-Assisted Instruction. ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข prachyanun@hotmail.com http://www.prachyanun.com. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน.
E N D
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนComputer-Assisted Instruction ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข prachyanun@hotmail.com http://www.prachyanun.com
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน • คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) เป็นกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ในการนำเสนอเนื้อหาเรื่องราวต่างๆมีลักษณะเป็นการเรียนโดยตรงและเป็นการเรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) คือสามารถโต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ได้
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนคืออะไรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนคืออะไร • รศ.ยืนภู่วรวรรณ: โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ได้นำเนื้อหาวิชาและลำดับวิธีการสอนมาบันทึกเก็บไว้คอมพิวเตอร์จะช่วยนำบทเรียนที่เตรียมไว้อย่างเป็นระบบมาเสนอในรูปแบบที่เหมาะสมสำหรับนักเรียนแต่ละคน • ดร.สุกรีรอดโพธิ์ทอง: โปรแกรมคอมพิวเตอร์หลายๆรูปแบบที่พัฒนาขึ้นเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการสอนและการรับรู้ของผู้เรียน • สารานุกรมศัพท์การศึกษาและจิตวิทยาสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาม.สุโขทัยธรรมาธิราช: การนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในระบบการเรียนการสอนวิชาต่างๆเช่นวิชาสังคมศิลปวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ภาษาไทยภาษาต่างประเทศรวมทั้งวิชาคอมพิวเตอร์โดยถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นสื่อในระบบการเรียนการสอนที่สามารถให้ผู้เรียนรู้ผลการตอบสนองได้รวดเร็วกว่าสื่อประเภทอื่นยกเว้นสื่อบุคคล
อะไรคือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอะไรคือคอมพิวเตอร์ช่วยสอน • เป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์สำหรับใช้ในการเรียนการสอน • เป็นโปรแกรมสำหรับให้เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง • เป็นบทเรียนที่มีการออกแบบอย่างเป็นระบบ • เป็นโปรแกรมที่มีกระบวนการเรียนการสอนครบถ้วน • เป็นบทเรียนที่ใช้สอนแทนครูได้/หรือใช้สอนเสริม • เป็นโปรแกรมที่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับโปรแกรม
แนวคิดการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแนวคิดการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน • บทเรียนโปรแกรม (Programmed Instruction) • พฤติกรรมนิยม (Behaviorism) • เสนอสิ่งเร้าให้กับผู้เรียนได้แก่เนื้อหาภาพนิ่งคำถามภาพเคลื่อนไหว • ประเมินการตอบสนองของผู้เรียนได้แก่การตัดสินคำตอบ • ให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการเสริมแรงได้แก่การให้รางวัลหรือคะแนน • ให้ผู้เรียนเลือกสิ่งเร้าในลำดับต่อไปและเลือกเนื้อหาที่เรียนได้
CAI/CBI/CBT • CAI : Computer-Assisted Instruction • CBI : Computer-Based Instruction • CBL : Computer-Based Learning • CBT : Computer-Based Training • CMI : Computer Management Instruction • CBE : Computer-Based Education • IMCAI : Interactive Multimedia CAI
ประเภทของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน • Tutorial • Drill and Practice • Simulation • Instructional Game • Problem-Solving • Instruction • Test • Discovery
ลักษณะบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนลักษณะบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน • แบบเชิงเส้น (CAI Linear Programming) • แบบแยกสาขา (CAI Branch Programming) บทนำ บทนำ บทที่ 1 บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 2 บทที่ 3
คุณลักษณะความเป็น CAI • Information : ข้อมูลเนื้อหามีสาระสำคัญ • Individual : สนองความแตกต่างระหว่างบุคคล • Interactive: การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ • Immediate : ตอบสนองและป้อนกลับได้ทันที
ความเป็นสื่อการสอนของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนความเป็นสื่อการสอนของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน • สื่อหลัก • CAI สร้างขึ้นมาสอนแทนอาจารย์ได้อย่างสมบูรณ์ทั้งระบบมีขั้นตอนและกระบวนการที่ครอบคลุมทั้งหลักสูตร • สื่อเสริม • CAI ประกอบการสอนของอาจารย์ สร้างขึ้นเพื่อช่วยในการสอน เช่น การนำเสนอ การทบทวน การสอนเสริม
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน • ดึงดูดความสนใจในการเรียน/เร้าความสนใจในการสอน • ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว • ผู้เรียนมีโอกาสโต้ตอบกับบทเรียน กำหนดระยะเวลาและความเร็วในการเรียนรู้ด้วยตนเอง • ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความสะดวกทุกเวลาและเรียนซ้ำได้ • ประหยัดเวลา งบประมาณ นักเรียนทุกคนได้เรียนในเนื้อหาเดียวกัน • ผู้เรียนจำเนื้อหาได้ง่าย จำได้นาน • ผู้สอนมีเวลามากขึ้นในการพัฒนาการสอน ฯลฯ
ปัญหาของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนปัญหาของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน • ค่าใช้จ่ายในการผลิตสูงและต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบในการเรียน • การผลิตใช้เวลานานและมีขั้นตอนที่ยุ่งยาก • ต้องมีบุคคลหลายฝ่ายช่วยในการผลิต • การขาดประสิทธิภาพในการเรียนรู้ • การละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา • ผู้ผลิตถูกคัดลอกผลงานทำให้ไม่มีแรงจูงใจในการผลิต • เนื้อหาคัดลอกจากตำราโดยไม่ได้รับอนุญาต
ผู้เกี่ยวข้องในการสร้าง CAI • ผู้เชี่ยวชาญ • ผู้เชี่ยวชาญเนื้อหา >> ครูผู้สอน นักวิชาการ • ผู้เชี่ยวชาญการสอน >> ครูผู้สอน • ผู้เชี่ยวชาญสื่อ >> นักเทคโนโลยีการศึกษา • ผู้เชี่ยวชาญโปรแกรม >> โปรแกรมเมอร์ • ผู้ออกแบบและพัฒนา • ผู้วิเคราะห์และออกแบบระบบ วัดผลประเมินผล ทดสอบการทำงาน • ผู้บริหารโครงการ • ผู้บริหารจัดการด้านการเงิน การจัดหาอุปกรณ์ การประสานงานผลิต
เครื่องมือในการสร้าง CAI • ภาษาโปรแกรมระดับสูง (high-level languages) เช่น BASIC, Pascal, Logo และ C • ภาษานิพนธ์บทเรียน (authoring languages) เช่น Coursewriter, Pilot และ Tutor • ระบบนิพนธ์บทเรียน (authoring systems) เช่น PHOENIX, DECAL, Icon-Author, InfoWindow, LS1, SOCRATIC และAuthorware • เครื่องช่วยนิพนธ์บทเรียน (authoring utilities) ซึ่งแบ่งออกได้อีกหลายชนิดเช่น lesson shell (ตัวอย่างโปรแกรม: Apple Shell Games), code generator (ตัวอย่างโปรแกรม: Screen Sculptor) และ library routines 5.เครื่องมือการสร้าง (authoring tools) เช่น Authorware, ToolBook,EZ tools Chula CAI ฯลฯ
การสอนด้วยคอมพิวเตอร์ช่วยสอนของกาเย่การสอนด้วยคอมพิวเตอร์ช่วยสอนของกาเย่ • การเร้าความสนใจ • การบอกวัตถุประสงค์ • การทบทวนความรู้เดิม • การนำเสนอเนื้อหาใหม่ • การชี้แนวทางการเรียนรู้ • การกระตุ้นให้เกิดการตอบสนอง • การให้ข้อมูลป้อนกลับ • การทดสอบความรู้ • การจำและการถ่ายโยงความรู้
การสอนด้วยคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ MIAP • MIAP / KMITNB • Motivation • Information • Application • Progress
Motivation • ขั้นสนใจปัญหา /การจูงใจผู้เรียน • 1. เตรียมการอย่างดี ปฏิบัติการได้ไม่ติดขัด • 2. นำผู้เรียนเข้าสู่หัวเรื่องและวัตถุประสงค์ได้ชัดเจน • 3. ใช้การรวมสื่อประกอบกับเทคนิคการถามช่วยดึงความสนใจให้มากที่สุด • 4. ใช้เวลากะทัดรัดอย่างเหมาะสม • 5. พยายามให้ผู้เรียนทั้งชั้นได้มีส่วนร่วม • 6. การสรุปจูงใจต้องทำให้ได้อย่างเหมาะสมตรงประเด็นที่จะนำผู้เรียน ศึกษาในเนื้อหาสาระต่อไป
Information • ขั้นสนใจข้อมูล • พร้อมที่จะรับเนื้อหาสาระ • ขั้นที่ให้ผู้เรียนอ่านจากตำรา เรียนรู้ด้วยตัวเอง • เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ที่ควรจะได้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ • ใช้อุปกรณ์ช่วยสอนและวางขั้นตอนในการให้เนื้อหา • จากน้อยไปมาก ง่ายไปยาก • ตรงตามวัตถุประสงค์ตามหลักสูตร
Application • ขั้นนำข้อมูลมาทดลองใช้ • 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสทดสอบความสามารถภายหลังจากผ่านการรับเนื้อหาสาระว่าเขา มีการรับเนื้อหาได้มากน้อยเพียงใด มีความเข้าใจเนื้อหาได้มากน้อยเพียงใด • 2. ก่อให้เกิดการตรวจปรับเนื้อหา ในส่วนที่ผู้เรียนยังรับเนื้อไม่ได้ซ่อมเสริมให้สมบูรณ์ ด้วยความถูกต้อง • 3. ช่วยลดภาวการณ์อิ่มตัวในการรับเนื้อหา ทำให้รับปริมาณเนื้อหาได้มากขึ้น • 4. ใช้เป็นการทบทวนความจำเพื่อป้องกันการเลือนหาย • 5. ช่วยพัฒนาการเรียนรู้ให้ผู้เรียนฝึกการใช้สติปัญญาและการแก้ปัญหา เสริมสร้างการ ส่งถ่ายการเรียนรู้
Progress • ขั้นประเมินผล • ขั้นตอนในการตรวจผลสำเร็จ หรือขั้นตอนในการตรวจสอบความก้าวหน้าในการเรียนรู้ • การวัดและประเมินผล • พฤติกรรม ความรู้ เจตคติ • ทักษะ
ส่วนประกอบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนส่วนประกอบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน • บทนำเรื่อง • คำอธิบายการใช้งาน • จุดประสงค์บทเรียน • รายการหลัก • แบบทดสอบก่อนเรียน • เนื้อหาวิชา • บทสรุปและการนำไปใช้ • แบบทดสอบหลังเรียน
การออกแบบหน้าจอภาพ • การกำหนดขนาดจอภาพ 640*480 / 800*600 / 1024*728 • การใช้สีตัวอักษร/สีพื้น/รูปภาพ/ภาพเคลื่อนไหว/กราฟิกส์ • การจัดรูปแบบจอภาพ การวางภาพ/เนื้อหา/ปุ่มควบคุม • การนำเสนอเนื้อหา • การใช้เทคนิคประกอบ • การควบคุมการเรียน/การป้อนกลับ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนกับงานเทคโนโลยีอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกับงานเทคโนโลยีอุตสาหกรรม • เพื่อการฝึกอบรมผู้บริหาร • เพื่อการฝึกอบรมพนักงาน/ลดต้นทุนการฝึกอบรม • เพื่อนำเสนอรูปแบบการบริหารจัดการโรงงาน • เพื่อจำลองสถานการณ์การทำงานเครื่องจักรกล • เพื่อลดการใช้วัสดุของจริงในการฝึกหัดอุตสาหกรรม
แนวโน้มในอนาคตของ CAI • CAI online • Learning Organization • Training on the workplace • Anytime Anywhere • ICAI • Virtual Reality
การประเมินบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการประเมินบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน • เนื้อหา (Content) • การออกแบบระบบการเรียนการสอน (Instructional System Design) • การออกแบบหน้าจอ (Screen Design) • เทคนิค (Technique)
คำถาม ????? • ถ้าไม่ถามจะให้ดูตัวอย่าง
แบบฝึกหัด • แบบประเมิน CAI • ขอรับ CAI เพื่อประเมิน 1 ชุด • เกณฑ์การประเมิน 4 ด้าน • เนื้อหา • การออกแบบระบบการเรียนการสอน • การออกแบบหน้าจอ • เทคนิค • ****** ไม่ต้องประเมินคู่มือ *******
CAI แตกต่างอย่างไรกับ e-Learning • OFF LINE • ON LINE • เรียนคนเดียว • หลายคนพร้อมกัน • ปฏิสัมพันธ์กับเครื่อง • ปฏิสัมพันธ์ทั้งเครื่องและคน • ติดต่อไม่ได้ในทันที • ติดต่อได้ทันที • ข้อมูลเฉพาะที่มีให้ • ข้อมูลมีทั่วโลก
สรุปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ e-Learning
Lecturer • Prachyanun Nilsook, Ph.D. • Ph.D. (Educational Communications and Technology) • King Mongkut’s Institute of Technology North Bangkok • 081-7037515 • prachyanun@kmitnb.ac.th • http://www.prachyanun.com