1.28k likes | 2.9k Views
การพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือ นักเรียน. พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 พระราชบัญญัติการศึกษา พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติมในส่วนที่เกี่ยวข้อง ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในเครือข่ายโรงเรียนปลอดภัย. ภูมิหลัง. นโยบายสู่การปฏิบัติ.
E N D
การพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 • พระราชบัญญัติการศึกษา พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติมในส่วนที่เกี่ยวข้อง • ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในเครือข่ายโรงเรียนปลอดภัย ภูมิหลัง
นโยบายสู่การปฏิบัติ นโยบาย สพฐ. สถานศึกษาทุกแห่งจัดให้มีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนและกำหนดมาตรการสนับสนุน ส่งเสริม ศักยภาพ นักเรียน เน้นกิจกรรมส่งเสริม พัฒนา ป้องกันแก้ ไขปัญหา และ การคุ้มครองสิทธิเด็ก โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สภาวะวิกฤติ • ภัยสารเสพติด • ความล้มเหลว ทางการเรียน / อาชีพ • ภัยทางเพศ • ความรุนแรง / การกลั่นแกล้ง / รังแก • อุบัติภัย • ฯลฯ มาตรการสู่การปฏิบัติ 1.สร้างความเข้มแข็งให้โรงเรียนมีมาตรฐานในการจัดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2.จัดกิจกรรม ส่งเสริมความปลอดภัย ด้านสิ่งแวดล้อม ทางกายภาพ ทางสังคม สิทธิเด็ก ตลอดจน ป้องกันแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของนักเรียน เช่น ปัญหาสารเสพติด ปัญหาพฤติกรรม ปัญหาทางเพศ โดยประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กร ในท้องถิ่น 3.สร้างเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เชื่อมโยงความรู้ สารสนเทศ และความร่วมมือระหว่างผู้ปกครอง ชุมชน องค์กร และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง 4.ประสานการจัดทำระบบข้อมูล สารสนเทศ เพื่อการพัฒนา ส่งเสริม แก้ไข และส่งต่อนักเรียนใน ทุกระดับและทุกประเภท
วิกฤติพฤติกรรมเด็กในปัจจุบันวิกฤติพฤติกรรมเด็กในปัจจุบัน ตกเป็นทาสเกมคอมพิวเตอร์ เป็นนักซิ่งวัยใส เป็นสก๊อยวัยสาว ยกพวกตีกัน ใช้กำลังแก้ปัญหา มีเพศสัมพันธ์เร็วขึ้น เข้าถึงสารเสพติดง่าย ขาดหลักธรรมทางศาสนา ขาดค่านิยมความเป็นไทย ความสัมพันธ์ในครอบครัวเปราะบาง ติดเพื่อน ติดสื่อ ให้ความสำคัญทางวัตถุมากกว่าจิตใจ ติดการพนัน นิยมเสี่ยงโชค มั่วสุมในหอพัก บ้านเช่า บริโภคอาหารกรุปกรอบ เป็นโรคอ้วน เครียด ซึมเศร้า มองโลกแง่ร้าย ไม่สนใจปัญหาสังคม ร่วมสร้าง แต่ไม่ร่วมแก้
พรบ.คุ้มครองเด็ก 2546 มาตรา 32 เด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์ เด็กเร่ร่อน หรือเด็กกำพร้า เด็กที่ถูกทอดทิ้ง หรือพลัดหลง เด็กที่ผู้ปกครองไม่สามารถอุปการะเลี้ยงดูได้ เด็กที่ผู้ปกครองมีอาชีพไม่เหมาะสม เด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูโดยมิชอบ เด็กพิการ เด็กที่อยู่ในสภาพยากลำบาก เด็กที่อยู่ในสภาพต้องได้รับการสงเคราะห์ตามกฎกระทรวง
พรบ.คุ้มครองเด็ก 2546 มาตรา 40 เด็กที่พึงได้รับการคุ้มครอง เด็กที่ถูกทารุณกรรม เด็กที่เสี่ยงต่อการกระทำผิด เด็กพึ่งได้รับการคุ้มครอง เด็กที่เสี่ยงต่อการกระทำผิด ประพฤติตนไม่สมควรกับสภาพการเป็นนักเรียน ประกอบอาชีพในทางผิดกฎหมาย คบหาสมาคมกับบุคคลกลุ่มเสี่ยง อยู่ในสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม
สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง • จากสภาพครอบครัว • ถูกปล่อยปละละเลย • ขาดความอบอุ่น • จากโรงเรียน • ขาดการดูแลนักเรียน • ไม่คำนึงถึงความแตกต่างของเด็กแต่ละบุคคล • ใช้ความรุนแรงแก้ปัญหาพฤติกรรมนักเรียน • จากชุมชน/สังคม • ขาดระเบียบชุมชน • ต่างคนต่างอยู่ในสังคม • ละเลยปัญหาเยาวชน • จากเพื่อน • ตามเพื่อน แคร์เพื่อน • ถูกรังแก กดขี่ ข่มเหง กดดัน • จากตัวเด็กเอง • ขาดทักษะการคิด • ควบคุมอารมณ์ไม่ได้
ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วย การลงโทษนักเรียน 2548 ว่ากล่าวตักเตือน ทำทัณฑ์บน ตัดคะแนนความประพฤติ ทำกิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียน โรงเรียน รพศ. รพท. รพช. รพ.จิตเวช ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนไม่เข้มแข็ง • คลินิกตามโรค ขาดการ • บูรณาการด้าน กาย จิต สังคม ของวัยรุ่น • ศูนย์พึ่งได้(OSCC) • - ขาดคลินิกวัยรุ่น -งานบริการสุขภาพ จิตเด็กและวัยรุ่นยังไม่บูรณาการ . สภาพปัญหา การทำงานของหน่วยงานดูแลเด็กและวัยรุ่น . Friend Corner 1.รู้จักเด็กเป็นรายบุคคล 2.คัดกรอง 3.ส่งเสริมพัฒนา YC 4.ป้องกันแก้ไข 5.ส่งต่อ
เพื่อพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของเครือข่ายโรงเรียนปลอดภัย โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม วัตถุประสงค์เฉพาะ 1. เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการของการพัฒนาระบบการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน 2. เพื่อพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 3. เพื่อศึกษาผลการทดลองใช้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 4. เพื่อประเมินและปรับปรุงระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน จุดประสงค์
กรอบแนวคิด พัฒนาการและความต้องการของนักเรียน นโยบายของรัฐบาล สภาวะวิกฤติและปัจจัยเสี่ยง ที่เกิดขึ้นในสังคม ระบบการดูแล เด็กดี มีปัญญา มีความสุข ช่วยเหลือนักเรียน พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 จรรยาบรรณในวิชาชีพครู หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 การประกันคุณภาพ สถานศึกษา ความต้องการของผู้ปกครอง ชุมชน
ผลผลิต กระบวนการ ปัจจัย - การรู้จักนักเรียน เป็นรายบุคคล - การคัดกรอง นักเรียน - การส่งเสริม / พัฒนา - การป้องกัน / แก้ไข - การส่งต่อนักเรียน - ปริมาณนักเรียน ในกลุ่มเสี่ยงและ กลุ่มมีปัญหา ลด น้อยลง - นักเรียนมีพฤติ- กรรมเป็นไปตาม จุดประสงค์ที่ สถานศึกษากำหนด - นักเรียนมีคุณภาพ คุณลักษณะตามที่ สถานศึกษากำหนด - คณะผู้บริหาร - ครูประจำชั้น/ ครูที่ปรึกษา - ครู และบุคลากร ที่เกี่ยวข้อง - ผู้ปกครอง - ชุมชน - งบประมาณ - ฯลฯ ข้อมูลย้อนกลับ
แนวการบริหารระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนแนวการบริหารระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน กำหนดทิศทาง / กลยุทธ์ -วิเคราะห์สภาพปัญหา - ศักยภาพของโรงเรียน - บริบทชุมชน นโยบาย สพฐ. กำหนดมาตรฐาน P การวางระบบและแบบแผนการดำเนินงาน ดำเนินงานตามระบบ การรู้จักนักเรียน การคัดกรอง การส่งเสริม การช่วยเหลือ / แก้ไข การส่งต่อ การประเมินและรายงาน D C การนิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผล A ปรับปรุง/พัฒนา/สรุป/รายงาน/ประชาสัมพันธ์
กลุ่มตัวอย่างสำหรับกรณีศึกษาในปีการศึกษา 2556 จำนวน 2 โรงเรียน มีรายละเอียดดังนี้ 1. โรงเรียนอนุบาลศรีธาตุ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 เข้าร่วมโครงการโรงเรียนปลอดภัย ปีการศึกษา 2554 เปิดสอนนักเรียนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 1 ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีจำนวน 28 ห้องเรียน จำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษา 48 คน จำนวนนักเรียน 750 คน 2. โรงเรียนทองอินทร์สวนมอญ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 เข้าร่วมโครงการโรงเรียนปลอดภัย ปีการศึกษา 2554 เปิดสอนนักเรียนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 1 ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีจำนวน 12 ห้องเรียน จำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษา 12 คน จำนวนนักเรียน 268 คน ขอบเขตงานวิจัย
การพัฒนาระบบ • เครือข่ายโรงเรียนปลอดภัย • ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน • การประเมินเชิงปฏิบัติการ ศัพท์สำคัญ
1.ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเห็นความสำคัญ และมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2. ความร่วมมือของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย จากผู้ที่สนใจ สมัครใจ ยินดีให้ความร่วมมือและเป็นตัวแทนกลุ่มได้เป็นอย่างดี • 3.ผู้บริหารควรเห็นความสำคัญและเป็นผู้นำในการนำระบบไปใช้เพื่อที่จะขับเคลื่อนให้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิผล • 4.มีคู่มือการดำเนินการระบบให้ผู้เกี่ยวข้อง และกำหนดบทบาทของผู้เกี่ยวข้องในการใช้ระบบให้ชัดเจน ประโยชน์ที่จะได้รับ