160 likes | 306 Views
นพ. ทักษพล ธรรมรังสี แผนงานพัฒนาศักยภาพนักวิจัย ด้านนโยบายแอลกอฮอล์ ( APR ) สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ. สุรากับประชากรกลุ่มอ่อนไหว เยาวชน คนยากจน Alcohol and vulnerable population (youth, poor). สุรา กับ เยาวชน : ความสำคัญ. อนาคตของสังคม ผลของการเริ่มต้นบริโภคเร็ว
E N D
นพ. ทักษพล ธรรมรังสี แผนงานพัฒนาศักยภาพนักวิจัย ด้านนโยบายแอลกอฮอล์ (APR) สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ สุรากับประชากรกลุ่มอ่อนไหวเยาวชน คนยากจน Alcohol and vulnerable population(youth, poor)
สุรา กับ เยาวชน: ความสำคัญ • อนาคตของสังคม • ผลของการเริ่มต้นบริโภคเร็ว • ผลถาวรต่อศักยภาพของมนุษย์ • มูลค่าผลกระทบ • ทฤษฎี alcohol as the gateway drug • เป้าหมายของอุตสาหกรรมสุรา • ทำงานด้วยยาก • ความมึนเมา ความสามารถในการควบคุม • มีลักษณะพิเศษ • ปริมาณการดื่ม • เงื่อนไขการดื่ม • ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการดื่ม
สุรา กับ เยาวชน: สถานการณ์ • ปริมาณการบริโภค 102.2 กรัม ชาย, 62.2 กรัม หญิง • ความชุกของนักดื่ม ความถี่ของการบริโภค • เครื่องดื่มประเภทใหม่ๆ
สุรา กับ ความยากจน: แนวคิด • รายได้ กับ การดื่มสุรา: ยิ่งจน ยิ่งดื่ม ? • ผลของภาษีและราคา: • ขึ้นภาษี ทำร้ายคนจน • การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงราคาเครื่องดื่ม ของคนจน • การดื่มสุรา เหตุ หรือ ผล • การกระจายของผลประโยชน์และผลกระทบจากสุรา • ความยากจนระดับมหภาค
สุรา กับ ความยากจน: สถานการณ์ • ความชุกของนักดื่ม • ปริมาณการบริโภค • รูปแบบการบริโภค • ค่าใช้จ่าย • Family budget – 1%-11% overall • Greater for families with frequent drinkers • การทำงาน มูลค่าความเสียหาย
Per Capita Consumption APC and GDP per capita 1962-2001
แอลกอฮอล์กับความยากจนแอลกอฮอล์กับความยากจน • ร้อยละ 66.7 ของผู้บริโภคมีรายได้น้อยกว่า 5,000 บาทต่อเดือน (2547) • ร้อยละ 48.9 ของผู้บริโภคหญิงมีรายได้น้อยกว่า 2,500 บาทต่อเดือน (2547) • ครัวเรือนไทยที่ยากจนที่สุด20 % (ควินไทล์ที่1) มีค่าใช้จ่ายแอลกอฮอล์ร้อยละ 6.6 ของรายจ่ายทั้งหมด (2549) • ครัวเรือนที่มีผู้บริโภค 1 คน มีค่าใช้จ่ายอาหารลดลง 5% (2549)
แอลกอฮอล์กับความยากจนแอลกอฮอล์กับความยากจน ค่าใช้จ่ายครัวเรือน
Changing of monthly household expenditure 1986-2004 (1986=1)
Tax rate for beer Specific = 100 B/LOPA Beer 6% Adjusted unitary