600 likes | 1.71k Views
แลกเปลี่ยนความคิดเรื่อง การทำโครงงานคณิตศาสตร์ (ฟิสิกส์ และคอมพิวเตอร์). สุจินต์ สุวรรณะ ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย จ. ขอนแก่น 31 พฤษภาคม 2554. หัวข้อ. ระเบียบวิธีวิจัยกับการทําโครงงาน ประเภทของโครงงาน/งานวิจัย ของแต่ละสาขา
E N D
แลกเปลี่ยนความคิดเรื่อง การทำโครงงานคณิตศาสตร์ (ฟิสิกส์ และคอมพิวเตอร์) สุจินต์ สุวรรณะ ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย จ. ขอนแก่น 31 พฤษภาคม 2554
หัวข้อ • ระเบียบวิธีวิจัยกับการทําโครงงาน • ประเภทของโครงงาน/งานวิจัย ของแต่ละสาขา • ระเบียบวิธีวิจัยทางคณิตศาสตร์ (ฟิสิกส์ และคอมพิวเตอร์) • ตัวอย่างงานโครงงานสาขาคณิตศาสตร์ (ฟิสิกส์ และคอมพิวเตอร์) • มุมมองที่ปรึกษาโครงงานระดับมหาวิทยาลัยกับโครงงานระดับมัธยมศึกษา • ตัวอย่างเค้าโครงวิจัย การเสนอแนะ และการอ่านและตรวจแก้ไขเค้าโครงเพื่อการทํางานวิจัย • แหล่งข้อมูล และฐานข้อมูลค้นคว้า เพื่องานวิจัยในสาขาคณิตศาสตร์ (ฟิสิกส์ และคอมพิวเตอร์) • ตัวอย่างชื่อเรื่อง โครงงานระดับมัธยมศึกษา (พสวท. & ห้องเรียนพิเศษ) • สนทนาแลกเปลี่ยน และภาคปฏิบัติ
I. ระเบียบวิธีวิจัยกับการทําโครงงาน • ผมคิดว่าการทำวิจัยควรมีขั้นตอนต่อไปนี้ 1. ตั้งคำถาม หรือโจทย์ที่ต้องการหาคำตอบให้ชัดเจนอะไรคือตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม 2. มีการคาดเดา หรือสมมุติฐานว่าคำตอบ หรือผลลัพธ์ควรจะเป็นเช่นไร 3. มีกระบวนการหาคำตอบอย่างเป็นระบบ มีเหตุผล ซึ่งอาจจะใช้การ ทดลอง (experiment)การทดลองทางความคิด (thought experiment) การศึกษาค้นคว้า การสำรวจ หรือการจำลอง (simulation) 4. มีการเคราะห์ผล และตรวจสอบคำตอบ 5. มีการทำรายงาน และนำเสนอผลการค้นหา
I. ระเบียบวิธีวิจัยกับการทําโครงงาน • สิ่งที่สำคัญสำหรับผมคือ ความสร้างสรรค์ ความแตกต่าง ความเป็นตัวของตัวเองในการหาคำตอบ เพราะนั่นคือการประกาศตัวเป็นเจ้าของความคิดในงานวิจัย • หากการมีระเบียบวิธีวิจัยจะทำลายความสร้างสรรค์ ทิ้งมันไปซะ เก็บความสร้างสรรค์ไว้ดีกว่า • การทำวิจัยไม่มีกฏเกณฑ์ที่ตายตัว แต่ละโจทย์มีความพิเศษในตัวเอง ไม่ควรยึดติดกับรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง แต่ต้องใช้เหตุผลตลอดเวลา อย่าใช้อารมณ์ หรือความต้องการ หรือความเห็นส่วนบุคคลเด็ดขาด • การทำโครงงานครั้งแรก เราอาจจะเสียเวลาเพื่อ “ลบกรอบ” และสิ่งกีดกั้นอิสระทางความคิดออกไป เพื่อให้เกิดการเรียนรู้แบบactive
III. ระเบียบวิธีวิจัยกับงานวิจัยทางคณิตศาสตร์ • ผมคิดว่าการทำวิจัยทางคณิตศาสตร์ควรมีการปรับปรุงขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. ตั้งถามหรือโจทย์ที่ต้องการหาคำตอบให้ชัดเจนอะไรคือตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม (สำคัญมาก) 2. มีการคาดเดา หรือสมมุติฐานว่าคำตอบ หรือผลลัพธ์ควรจะเป็นเช่นไร (บางทีอาจไม่จำเป็น หากเรามี axioms หรือทฤษฎีบทพื้นฐาน) 3. มีกระบวนการหาคำตอบอย่างเป็นระบบ มีเหตุผล ซึ่งอาจจะใช้การทดลอง (experiment)การทดลองทางความคิด (thought experiment)การศึกษาค้นคว้า การสำรวจ หรือการจำลอง (simulation) (งานวิจัยทางคณิตศาสตร์ส่วนมากใช้การให้เหตุเป็นขั้นเป็นตอนตามหลักตรรกศาสตร์ การทดลองช่วยให้เข้าใจโจทย์ได้ถ่องแท้ขึ้น และอาจช่วยให้เห็นคำตอบ แต่ไม่ใช่เป็นการพิสูจน์) 4. มีการเคราะห์ผล และตรวจสอบคำตอบ (โดยทั่วไปแล้วเป็นส่วนหนึ่งของการพิสูจน์) 5. มีการทำรายงาน และนำเสนอผลการค้นหา (สำคัญ)
II(a). ประเภทของโครงงาน/งานวิจัยของสาขาคณิตศาสตร์ (ฟิสิกส์ และคอมพิวเตอร์) • คณิตศาสตร์บริสุทธิ์ (pure mathematics) หรือการพิสูจน์ทฤษฎีบทเช่น การพิสูจน์ Fermat Last Theorem • การศึกษาเชิงทฤษฎี (theoretical/mathematical investigation) เช่นการศึกษา Cauchy-Schwarz Inequality, Isoperimetric Inequality • คณิตศาสตร์ประยุกต์ (applied mathematics)เช่น การใช้คณิตศาสตร์ในวิทยาศาสตร์สาขาอื่นๆ หรือในการจัดการจราจร หรือการขนส่ง • คณิตศาสตร์สถิติ (mathematical statistics)เช่นการสำรวจประชากร คณิตศาสตร์ประกันภัยคณิตศาสตร์ทางการแพทย์ • คณิตศาสตร์ศึกษา (mathematical education)เช่น การพัฒนาสื่อการสอนคณิตศาสตร์ หรือ กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ • ประวัติศาสตร์คณิตศาสตร์ (mathematical history)เช่น ใครคือนักคณิตศาสตร์คนแรกของไทย คณิตศาสตร์ในการวางผังเมือง
II(a). ประเภทของโครงงาน/งานวิจัยของสาขาคณิตศาสตร์ (ฟิสิกส์ และคอมพิวเตอร์) • ประวัติศาสตร์คณิตศาสตร์ (mathematical history)เช่น ใครคือนักคณิตศาสตร์คนแรกของไทย คณิตศาสตร์ในผลงานของดาร์วินชี่ • คณิตศาสตร์ศิลปะ เช่น ภาพแฟรคตัล (fractals) สมมาตรจากการพับกระดาษ • คณิตศาสตร์เกม (mathematical games) เช่น หมากรุก หมากฮอส เกมเพิร์ล • ฯลฯ
II(b). ประเภทของโครงงาน/งานวิจัยของสาขาคณิตศาสตร์ (ฟิสิกส์ และคอมพิวเตอร์) 1). ทำสิ่งที่คนอื่นทำไม่ได้ ตอบคำถามที่ยังไม่มีใครรู้คำตอบ 2). ทำสิ่งที่คนอื่นเคยทำแล้ว แต่ด้วยวิธีการใหม่ของเราเอง 3). ศึกษาสิ่งที่คนอื่นทำแล้วอย่างสำเร็จ 4). นำองค์ความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในศาสตร์อื่น 5). รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล นำเสนอข้อมูล 6). ทำสิ่งประดิษฐ์ หรือสื่อการสอน หรือของเล่น 7). ทำงานศิลปะด้วยคณิตศาสตร์ สี่เหลี่ยมสุวรรณภูมิ รหัสล้านนา
V. มุมมองที่ปรึกษาโครงงานระดับมหาวิทยาลัยกับ โครงงานระดับมัธยมศึกษา • ประถมศึกษา โครงงานที่ส่งเสริมความอยากรู้อยากเห็น ความสนุกสนานตื่นเต้น เช่น คณิตศาสตร์ศิลปะ เกมคณิตศาสตร์ ประวัติศาสตร์คณิตศาสตร์ • มัธยมต้น โครงงานที่ส่งเสริมความรู้ ความอยากรู้อยากเห็น ความสนุกสนานตื่นเต้น เช่น คณิตศาสตร์ศิลปะ เกมคณิตศาสตร์ การทดลองประวัติศาสตร์คณิตศาสตร์ ข้อ 5), 6) และ 7) ใน II(b) • มัธยมปลาย โครงงานที่ส่งเสริมความรู้ ความอยากรู้อยากเห็น ความคิดริเริ่ม เช่น คณิตศาสตร์ประยุกต์ เกมคณิตศาสตร์ การทดลองการแก้ปัญหา ประวัติศาสตร์คณิตศาสตร์ ข้อ 3) -- 7) ใน II(b) • ปริญญาตรี โครงงานที่ส่งเสริมความรู้ การค้นคว้า ความคิดริเริ่ม เช่น การศึกษาเชิงทฤษฎี คณิตศาสตร์ประยุกต์ เกมคณิตศาสตร์ การทดลอง ประวัติศาสตร์คณิตศาสตร์ การพิสูจน์ ข้อ 2) -- 7) ใน II(b)
บทบาทและหน้าที่ของที่ปรึกษาบทบาทและหน้าที่ของที่ปรึกษา • ให้คำปรึกษา • สอนองค์ความรู้(คณิตศาสตร์) เพิ่มเติมตามความเหมาะสม • ชี้แหล่งค้นคว้า ไม่ปิดบังข้อมูล • ซื่อสัตย์ตรงไปตรงมา แต่ไม่ทำร้ายน้ำใจ • ตั้งใจอ่าน ตั้งใจฟัง หรือชี้ข้อผิดพลาด • ให้กำลังใจ ให้ความสำคัญ • ไม่ควรคิดโจทย์ให้ (ยกเว้น นักเรียนต้องการเช่นนั้นจริงๆ) • ให้ความสำคัญกับกระบวนการมากกว่าผลลัพธ์ • มีความอยากรู้ อยากมีส่วนร่วม เป็นตัวอย่างที่ดีของการเรียนรู้แบบ active • ให้อิสระทางความคิด ไม่ยึดติดกับกรอบหรือรูปแบบการค้นคว้า
ทรรศนคติของผม • อย่าเป็นที่ปรึกษาเพราะอยากมีชื่อในโครงงาน • อย่าปฏิเสธการเป็นที่ปรึกษาเพราะคิดว่าไม่ถนัด หรือความรู้ไม่มากพอ • อย่าปล่อยโอกาสให้ผ่านไปโดยที่เด็กไม่ได้เรียนรู้ ที่ปรึกษาเป็นคนป้อนคำถามให้เด็กเรื่อยๆ นอกจากคำถามของเด็กเอง • ไม่ว่าโครงงานจะได้ผลตามที่คาดหวังเอาไว้ หรือไม่ได้ผลตามที่คาดหวังเอาไว้ ความสำเร็จคือการเรียนรู้ และการมีกระบวนการทางความคิดที่ถูกต้อง การที่เด็กทำโครงการถือว่าเป็นความสำเร็จอย่างยิ่งใหญ่ • เด็กจะหวังผลจากการทำโครงงาน ที่ปรึกษาหวังเห็นพัฒนาการและการใช้ศักยภาพของเด็กเหนือสิ่งอื่นใด • พยายามคลุกคลี และทำให้เด็กมีทรรศนคติที่ดีต่อการค้นคว้า เรียนรู้
VI. ตัวอย่างเค้าโครงวิจัย การเสนอแนะและการอ่านและตรวจแก้ไขเค้าโครงเพื่อการทํางานวิจัย • โจทย์ หรือคำถาม • บทนำ หรือความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้อง • วัตถุประสงค์และขอบเขตของการค้นคว้า • กระบวนการหาคำตอบ • ผลที่ได้ และการวิเคราะห์ • บทสรุป • กิตติกรรมประกาศ • อ้างอิง
IV. ตัวอย่างงานโครงงานของสาขาคณิตศาสตร์ • ปริศนาคณิตศาสตร์บนโต๊ะบิลเลียด (นายพงศ์พัฒน์ สิทธิไตรย์, แก่นนครวิทยาลัย, 2552, รศ. ดร. สาธิต แซ่จึง) • สมบัติบางประการของไตรโบนักชี (นส. ณัฐสุดา ลีลาขจรกิจ, ศรีบุณยานนท์, 2552, อ. วิมล พงษ์ปาลิต, ผศ. ดร. ภัททิรา เรืองสินทรัพย์) • รูปแบบของกราฟสมการที่มีระดับขั้นที่ 3 เมื่อโดเมนเป็นเซตของจำนวนเชิงซ้อน และเรนจ์เป็นเซตของจำนวนจริง (นายวิฆเณศ ศิริปะชะนะ, หาดใหญ่วิทยาลัย, 2552, ดร. ช่อฟ้า นิลรัตน์, อ. พรพจน์ อุ้ยกุล) • สนุกคิดกับตัวเลข (นส. เมธินีย์ สุดสวาท, พระปฐมวิทยาลัย, 2552, อ. ภาวดี สุริยพันธ์, ดร. ฉวีวรรณ รัตน์ประเสริฐ) • Traffic Jam (นส. นวพร นาคหฤทัย, ยุพราชวิทยาลัย, 2552, อ. พิสมัย สิงห์อุสาหะ, อ. สุวทัศน์ อริยานนท์, ดร. ธนะศักดิ์ หมวกทองหลาง)
Mathematics on Billiad Table by PongpatSittitrai Kennakornwittayalai School Supervised by Assoc. Prof. Dr. SatitSae-Jeung Mathematics Department, Khonken University Mathematics on Billiad Table/ Pongpat
Introduction and Background We would like to know the relationship between the dimension of the table and the number of reflections with the edges before a billiard ball finds a pocket? Mathematics on Billiad Table/ Pongpat
Objective To use mathematical principles to calculate the number of reflections with the table edges before the billiard ball falls in a pocket. Here, it is supposed that the table has dimensions m×n and the billiard ball is initially hit at angle 45˚. Mathematics on Billiad Table/ Pongpat
Method • Make a rectangle with dimensions 2×3 to model the billiard table with only four pockets at the corners. • Draw a straight line from any corner making a angle 45°. Then, find the relationships between the dimensions m, n and the number of reflections on each side, keeping track of the terminal position. Mathematics on Billiad Table/ Pongpat
Method (Cont.) 3. Repeat steps 1 and 2, but change the dimensions to 3×4,3×5,4×5,… until the relationship between the dimensions and the number of reflections is found. Mathematics on Billiad Table/ Pongpat
Example with the table dimensions 2×3 pocket 1st reflection 2nd reflection 3rd reflection Mathematics on Billiad Table/ Pongpat
Results For table dimensions m×n, when the billiard ball is initially hit at angle 45°, the number N of reflections before falling in a pocket 1.1 If gcd(m, n) =1, then 1.2 If gcd(m, n) ≠ 1, then Mathematics on Billiad Table/ Pongpat
Proof Suppose gcd(m,n) = 1 1.1 extend the m×n table to the mn × nm table Mathematics on Billiad Table/ Pongpat
1.2 Now we obtain a square of dimensions mn × nm. Draw the diagonal line. Notice that each time the diagonal line intersects the edge of a rectangle, it is equivalent to a reflection of the rectangle. Moreover, one point of intersection corresponds to one point of reflection. The number of intersection points is m+n. But the first and last points do not count; hence, there are m+n-2 reflections. Mathematics on Billiad Table/ Pongpat
2.1 When gcd(m,n)≠1 Then m = ax and n = ay with gcd(x,y) =1 and a = gcd(m,n). From 1.1, a square has dimensions axy × ayx. From 1.2, the number of reflections is x+y-2, where The number of reflections for the m×n table when gcd(m,n)≠1 is Mathematics on Billiad Table/ Pongpat
Acknowledgements • DPST • IPST • Dr. Satit Sae-Jeung for advice and discussions. • Math and science teachers at Kennakornwittayalai School THANK YOU FOR YOUR ATTENTION. Mathematics on Billiad Table/ Pongpat
VII. แหล่งข้อมูล และฐานข้อมูลค้นคว้าเพื่องานวิจัยในสาขาคณิตศาสตร์ • สสวท. (เอกสารการประชุมวิชาการ พสวท., เอกสารการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ของนักเรียนในห้องเรียนพิเศษ, เอกสารค่ายฤดูร้อน พสวท.) • ห้องสมุดโรงเรียน • ห้องสมุดมหาวิทยาลัยใกล้เคียง • Internet • scsju@mahidol.ac.th
VIII.ตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมปลายVIII.ตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมปลาย • ฟังก์ชั่นจำนวนวิธีการแบ่งกั้นจำนวนนับโดยไม่สนใจอันดับ (นายณัฐนที ดอกไม้, แก่นนครวิทยาลีย, 2552) • การแก้ปัญหาเกมส์ซูโดกุโดยใช้โปรแกรมเชิงตรรกะ (นส. อภิชญาพร รัตคธา, 2552) • การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระยะทางจากจุดๆหนึ่งบนด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากกับพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่แนบในรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (นส. ภฤศรินทร์ ตั้งศิริดำรงค์, แก่นนครวิทยาลัย, 2552) • แบบจำลองคณิตศาสตร์: ประชากรยุงลายบ้าน (นายฟูเกียรติ นวลศรี, หาดใหญ่วิทยาลัย, 2553) • การศึกษาจำนวนรูปหกเหลี่ยมในลูกฟุตบอล (นายศิวะณัฐ จันทร์สกุลณี, สามเสนวิทยาลัย , 2553)
ตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมปลายตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมปลาย • การศึกษาอสมการค่าเฉลี่ยเลขคณิต-เรขาคณิต และอสมการ Cauchy-Schwarz (นส. เบญจรัตน์ เปรมปรีสุข, พระปฐมวิทยาลัย, 2553) • การศึกษารอยตัดที่เกิดจากการตัดพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส (นส. พัช ธงไธสงค์, แก่นนครวิทยาลัย , 2553) • ตรวจสอบความแม่นยำของสูตรความน่าจะเป็นที่คน N คนเกิดวันเดียวกัน 2, 3, 4, และ 5 คนที่เกิดขึ้น (นายคคนานต์ สินมา, บดินทรเดชา, , 2553) • พีชคณิตแบบบูลกับวงจรสวิตซ์ (นส. วันวิสาข์ คงเสือ, ศรีบุณยานนท์, , 2553) • ความน่าจะเป็นและทฤษฎีเกม (นส. นภาวรรณ ดอกยี่สุ่น, พระปฐมวิทยาลัย, 2554) • พีชคณิตบูลีน (นายสิปปนนท์ กิติมูล, ยุพราชวิทยาลัย, 2554)
ตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมปลายตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมปลาย • สูตรและหลักการการหา ค.ร.น. ของลำดับเลขคณิตที่อยู่ในรูป an = cn + d เมื่อ c เป็นจำนวนเต็มไม่เท่ากับศูนย์ d เป็นจำนวนเต็มและ n เป็นจำนวนนับ (นส. ฟองจันทร์ วรรณสุขขี, แก่นนครวิทยาลัย, 2554) • การศึกษาสมบัติของรูป n เหลี่ยมด้านเท่าซึ่งเกิดจากการซ้อนทับของวงกลม (นายพงษ์บัณฑิต ต้นโพธิ์, แก่นนครวิทยาลัย, 2554) • การหาสมการใบไม้โดยใช้ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข (นายธราเทพ แสงสว่าง, หาดใหญ่วิทยาลัย, 2554) • การหาสมการความสัมพันธ์ใหม่ของลำดับพหุนาม (นส. ชุติมณฑน์ รุ่งศิลป์, หาดใหญ่วิทยาลัย, 2554)
ตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมปลายตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมปลาย • ปัจจัยที่มีผลต่อความเครียดของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 (นางสาวธัญลักษณ์ เทียมสระคู, นส. ศิรประภา ลือชา, นายกิตติวัตน์ หวลประไพ, จุฬาภรณราชวิทยาลัยเชียงราย, 2551) • ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างรอบคอและรอบเอว (นางสาวรัตน์ ติกาล ตรีธนากร, นส. ลักษิกา ปานออก, นส. สกุลสุข อินนัน, จุฬาภรณราชวิทยาลัยเชียงราย , 2551) • การศึกษาปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครกรัมในจังหวัดเชียงราย (นายธนพัฒน์ ต้ังจิตต์พิสุทธิ์, นายอลงกต เครือวาระ, นส. นุชฎา เวียงโอสถ, จุฬาภรณราชวิทยาลัยเชียงราย , 2551) • พับทีละครึ่ง (นายกิตติธัชชเอื้อประเสริฐ, นายคณาธิป เหล่ารัดเดชา, นายนภทีป์ ไชยยงค์, พิริยาลัยจังหวัดแพร่ , 2551)
ตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมปลายตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมปลาย • โครงงานทฤษฎีเกมกับการตัดสินใจเลือกศึกษาในระดับอุดมศึกษา (นายถิรา พงศ์ ศิริวรรณ, นายทีปกร อดุลย์เกษม, นายปรุฬห์ เวชศิลปคอง, พิริยาลัยจังหวัดแพร่ , 2551) • จำนวนบล็อกอย่างมากที่ใช้ในพ้ืนที่สี่เหลี่ยมที่กำหนด (นส. อภิชญาพร รัตคธา, ยุพราชวิทยาลัย, 2551) • Proof of Series by Square with Sketchpad (นาย ชนกันต์ คำวัง, นส. ภัทรกมล เฟยลุง, นส. ฤทัยชนก ปัญญา, นส. สัจมน ปันทา, สตรีศรีน่าน, 2551) • นมัสการพระ 9 วัด ประหยัดพลังงาน (นายโชคชัย เมฆศิรินภาพงศ์, นายกัมพล พิชิตวงค์, นส. สุนทรีย์ แสงเฮ่อ, ห้องสอนศึกษา, 2551)
ตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานฟิสิกส์ของนักเรียนระดับมัธยมปลายตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานฟิสิกส์ของนักเรียนระดับมัธยมปลาย • การวัดสภาพต้านทานไฟฟ้าโดยเทคนิค Four-point Probe ของ Van derPauw(นส. วัชราภรณ์ มูลทรัพย์, แก่นนครวิทยาลัย, 2552) • การปรับปรุงคุณสมบัติการยึดติดของยาง 2 ชนิดซึ่งใช้ผลิตลูกฟุตบอลด้วยระบบความดันต่ำ (นายวิภู อยู่เย็น, ยุพราชวิทยาลัยม 2552) • ปัจจัยที่มีผลต่อสนามแม่เหล็ก (นายอุเทศ อาชาทองสุข, ศรีบุณยานนท์, 2552) • ปรากฏการณ์แมกนิโตอิลาสติกในแถบ Metglas 2826MB และการประยุกต์ใช้เป็นเซ็นเซอร์ตรวจวัดความหนืด (นายวรเมธ ศรีเพชรไพศาล, 2552) • การประยุกต์ใช้เจนเนติกอัลกอลิทึม (Genetic Algorithm)เพื่อสร้างแบบจำลองการใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้นของประเทศไทย (นายสร้างสรรค์ วรัคคกุล, 2552)
ตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานฟิสิกส์ของนักเรียนระดับมัธยมปลายตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานฟิสิกส์ของนักเรียนระดับมัธยมปลาย • การหาค่าความยาวคลื่นของเลเซอร์ดรรชีหักเหของอากาศ และดรรชนีหักเหของแก้วด้วยไมเคลสันอินเตอร์เฟียโรมิเตอร์ (นส. ชยาวรรณ ใจกล้า, สามเสนวิทยาลัย, 2552) • การปรับปรุงคุณสมบัติเชิงกลของ Thermoplastic Starch (นส. นริศรา เค้าฉิม, พระปฐมวิทยาลัย, 2552) • การศึกษาประสิทภาพของเครื่องทำความร้อนพลังงานแสงอาทิตย์แบบรางพาราโบลา (นายวีรเกียรติ ลืออุดมธนสาร, พระปฐมวิทยาลัย, 2552) • การศึกษาคุณสมบัติเชิงกลของ TPS/PLA Blend (นส. ชาลินี เค้าฉิม, พระปฐมวิทยาลัย, 2552)
ตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานฟิสิกส์ของนักเรียนระดับมัธยมปลายตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานฟิสิกส์ของนักเรียนระดับมัธยมปลาย • การศึกษาฟิวซูลินอยเดียบริเวณเขาพุปลู อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี (นส. ชวิศา ภู่เจริญชัยวรรณ, บดินทรเดชา, 2552) • การหาค่ามุมการเกิด Earth Shine (นายชัยพร ศุกลพันธ์, 2552) • การศึกษาคุณสมบัติบางประการของคลื่นไมโครเวฟและประกฏการณ์ Frustrated Total Internal Reflection ในคลื่นไมโครเวฟ (นายธนัท ตรีธารทิพย์เลิศ, บดินทร์เดชา, 2553) • การหมุนแบบควบคุมของท่อลิปิดไมโครโดยเทคนิค Optical Tweezers (นายยศพล หาญวณิชย์เวช, ศรีบุณยานนท์, 2553) • การคำนวณหาสนามแม่เหล็กจากกระแสที่มีรูปทรงเรขาคณิตต่างๆ ด้วยโปรแกรม MathCAD (นายกิติชัย นิยอด, แก่นนครวิทยาลัย, 2553)
ตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานฟิสิกส์ของนักเรียนระดับมัธยมปลายตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานฟิสิกส์ของนักเรียนระดับมัธยมปลาย • การหาลักษณะเฉพาะของเทอร์โมคัปเปิลชนิด K (นส. ทิพาพร พัฒนิบูลย์, นส. พิรามน ฮามพิทักษ์, แก่นนครวิทยาลัย, 2553) • ปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของเซลล์เชื้อเพลิงชนิด PEM (นายพันธกานต์ ปัญใจแก้ว, ยุพราชวิทยาลัย, 2553) • ความสัมพันธ์ระหว่างความคลาดเคลื่อนของโชติมาตรกับระยะเวลาเปิดหน้ากล้องในการสังเกตการณ์ดาวแปรแสงชนิด Delta Scuti(นส. ศุจีภรณ์ ตันติพงค์, ยุพราชวิทยาลัย, 2553) • การพัฒนาพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพด้วยเทคโนโลยีพลาสมา (นายวุฒิพงษ์ ทองภักดี, ยุพราชวิทยาลัย, 2553)
ตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานฟิสิกส์ของนักเรียนระดับมัธยมปลายตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานฟิสิกส์ของนักเรียนระดับมัธยมปลาย • การศึกษาผลทางสนามไฟฟ้าต่อเซลล์สาหร่ายที่มีลักษณะกลม (นายธนกร ตรีวรรณจุฑา, หาดใหญ่วิทยาลัย, 2553) • การพัฒนาปีกเครื่องบินแบบวงรี (นส. ภวิตา บุญรัตน์, หาดใหญ่วิทยาลัย, 2553) • การศึกษาศิลาวรรณนาบริเวณตอนเหนือของเขื่อนท่าทุ่งนาจังหวัดกาญจนบุรี (นส. มินตรา เอี่ยมโพธิ์, บดินทร์เดชา, 2553) • การศึกษาการเคลื่อนที่แบบบราวน์ใน 2 มิติ (นส. ชัชฎาพร บรรยงคิด, ศรีบุณยานนท์, 2554) • การสร้างเครื่องมือวัดความหนืดของพอลิเมอร์ในสถานะหลอม (นายกฤตวัตร พูลสวัสดิ์, พระปฐมวิทยาลัย, 2554)
ตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานฟิสิกส์ของนักเรียนระดับมัธยมปลายตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานฟิสิกส์ของนักเรียนระดับมัธยมปลาย • การศึกษาฟิล์มบางซิงค์ออกไซด์เตรียมโดยวิธีอาร์เอฟสปัตเตอริ่ง (นส. จิตชนก วังขนาย, พระปฐมวิทยาลัย, 2554) • เทคโนโลยีพลาสมา (นส. พัชราภรณ์ มณีรัตน์, ยุพราชวิทยาลัย, 2554) • การศึกษาสมบัติของดาวฤกษ์บริเวณกระจุกกาแลกซี Virgo (นายนราวิชญ์ กองก่อ, ยุพราชวิทยาลัย, 2554) • การศึกษาการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งของหยดน้ำทรงกลมในน้ำ (นายจิรวัฒน์ อัศวขจรศักดิ์, แก่นนครวิทยาลัย, 2554) • การวัดค่าความแม่นยำของโปรแกรมอ่านค่าอุณหภูมิจาก DS18S20 แบบ Single Device (นส. อัจฉริยา ประธาน, แก่นนครวิทยาลัย, 2554)
ตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานฟิสิกส์ของนักเรียนระดับมัธยมปลายตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานฟิสิกส์ของนักเรียนระดับมัธยมปลาย • การสร้างสเปกโทรโฟโตมิเตอร์อย่างง่ายโดยใช้ไดโอดเปล่งแสงเป็นแหล่งกำเนิดแสง (นายกิตินันท์ พงษ์สง่างาน, แก่นนครวิทยาลัย, 2554) • การปรับปรุงคุณภาพของผิววัสดุเมมเบรนไคโตซานที (นส. จิตนา ภักดีวานิช, หาดใหญ่วิทยาลัย, 2554) • แบบจำลองการสำรวจลอยเลื่อนโดยวิธีสภาพต้านทานไฟฟ้า (นส. คณัสนันท์ พลรัตน์, 2554) • การแทรกสอดและการเลี้ยวเบนของแสง (นายภานุศิษฎ์ เอื้อละพันธ์, หาดใหญ่วิทยาลัย, 2554) • การศึกษาความชื้นสมดุลของข้าวกล้องงอก (นายจิรายุ สากลกิจจานุกูล, หาดใหญ่วิทยาลัย, 2554)
ตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานฟิสิกส์ของนักเรียนระดับมัธยมปลายตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานฟิสิกส์ของนักเรียนระดับมัธยมปลาย • การศึกษาเกี่ยวกับธรณีวิทยาในหัวข้อดังนี้ หินและแร่ แผนที่ทางธรณีวิทยา การทำแผ่นหินบาง และการใช้เครื่องมือ X-Ray Diffraction (นายไอราพต แสงระยับ, บดินทร์เดชา, 2554) • ชานอ้อยซับเสียง (นายพิสิฐ แก้วคำปา, นส. พาณิภัค วัฒนพา, นส. วิทิตยาพร พรหมณะ, จุฬาภรณราชวิทยาลัยเชียงราย, 2551) • แบบจำลองการผันพลังงานแสงจากธรรมชาติใช้ในอาคารโดยใช้เส้นใยแก้วนำแสง (นาย กฤษฎา พิมพ์มดี, นาย นฤชา เทพา, นาย ฉัตรชัย อภินันเทิดไทย, จุฬาภรณราชวิทยาลัยเชียงราย, 2551) • การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อระยะเวลาการร่อนของเครื่องบินกระดาษ (นายกิตตน์ กิติโชตน์กุล, นายอวิรุทธิ์ วงค์คำลือ, บุญวาทย์วิทยาลัย, 2551)
ตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานฟิสิกส์ของนักเรียนระดับมัธยมปลายตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานฟิสิกส์ของนักเรียนระดับมัธยมปลาย • ไม้อัดจากกะลามะพร้าว (นางสาวกมลวรรณ แสนหมุด, นส. สุจิตรา ทวีเชื้อ, พะเยาพิทยาคม, 2551) • ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตกระแสไฟฟ้าของกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้า (นายสุริยพงศ์ นาคเอม, นายกฤษณ์ สุวรรณรัตน์, นส. กนกวรรณ ใจสบาย, พิริยาลัย จ. แพร่, 2551) • ปริมาณแสงกับการตรวจสอบไข่ของเครื่องตรวจสอบไข่ (นายชนินทร์ คมแหลม, นายวรทัต หงษ์ทอง, นายหฤษฏ์ หอมพูลทรัพย์, พิริยาลัย จ. แพร่, 2551) • เคร่ืองผลิตกระแสไฟฟ้าพลังน้ำจากรางน้ำฝน (นายพิชชากร ศรีศิริสิทธิกุล, นายอภินันท์ ทิพย์ราชา, นายโยธิน คำแสน, ยุพราชวิทยาลัย, 2551)
ตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานฟิสิกส์ของนักเรียนระดับมัธยมปลายตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานฟิสิกส์ของนักเรียนระดับมัธยมปลาย • สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานของรองเท้า (นายภัทรดนัย นุชจิโน, นายกฤตภาส สมฤทธิ์, นายพฤทธิ์ ดาวจร, ยุพราชวิทยาลัย, 2551) • การปรับปรุงคุณสมบัติของผิววัสดุด้วยเทคโนโลยีพลาสมา (นาย ชัยพร ศุกลพันธ์, นายวิภู อยู่เย็น, ยุพราชวิทยาลัย, 2551) • รถถูพื้นอิเล็กโทรนิกส์จำลอง (นส.กาญจนา ไชยตีฆะ, นายณัฐวัตร อำนวยหาญ, นส. ฐานวดี ศักดาศรี, นส. นันทวัน หมู่สกุล, สตรีศรีน่าน, 2551) • เครื่องผลิตไฟฟ้าพลังเท้า (นายเจนวิชญ์ เบญจพงศ์, นายวรรธนันท์ ปัญญาแดง, นายธนกฤต รัตนชัยเสมากุล, นายสุทธิภัทร ศุภนิมิตการัญญู, ห้องสอนศึกษา, 2551)
ตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์ของนักเรียนระดับมัธยมปลายตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์ของนักเรียนระดับมัธยมปลาย • การศึกษาและพัฒนาแบบจำลองไฟป่าโดยใช้เซลลูลาร์ออโตมาตา (นส. นิโลบล สบบง, ยุพราชวิทยาลัย, 2553) • Integer Programming (นส. พัชราภรณ์ ดาวดิษฐ์, ยุพราชวิทยาลัย, 2553) • การสร้างเครื่องสแกนสามมิติอย่างง่าย (นายธเนศ มากโฉม, ศรีบุณยานนท์, 2553) • Computational Physics (นายปริญญา อุดมใหม่, ยุพราชวิทยาลัย, 2554) • การศึกษาการเปลี่ยนสถานะและพลังงานที่เกี่ยวข้องของโมเลกุล H2O โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์วิเคราะห์ (นายชนะพล อ้นวงษา, บดินทร์เดชา, 2554)
ตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์ของนักเรียนระดับมัธยมปลายตัวอย่างชื่อเรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์ของนักเรียนระดับมัธยมปลาย • สมองกลช่วยคนใช้สิทธิ (Computer Voting) (นายเอื้ออังกูร มังคลาด, พะเยาพิทยาคม, 2551) • แบบจำลองโรงเรือนอัจฉริยะ (นส. ขนิษฐา ปัญญามงคล, นส. พิมพิมล หลวงสิงห์, นาย ธนพล พรหมจิต, ยุพราชวิทยาลัย, 2551) • บทเรียนสำเร็จรูปเรื่องแผ่นดินไหว (นายอธิปไตย ประสิทธิกุล, นส.อารยา สิทธิวงศ์, ห้องสอนศึกษา, 2551) • ระบบสำรวจนักเรียนด้วยโปรแกรมอัจฉริยะ (นส. จิราภรณ์ หล้าปินตา, นส.ธิดารัตน์ ศรีทิพย์, นายสุชาครีย์ วีระโจง, จักรคำคณาทร ลำพูน, 2551)
IX. สนทนาแลกเปลี่ยน และภาคปฏิบัติ It isn’t that they can’t see the solution. It’s that they can’t see the problem.
ตัวอย่างหัวข้อในวิชาคณิตศาสตร์ที่สามารถเป็นโครงงานระดับมัธยมศึกษาตัวอย่างหัวข้อในวิชาคณิตศาสตร์ที่สามารถเป็นโครงงานระดับมัธยมศึกษา • ลำดับฟิโบนาชี ลำดับลูคัส
ตัวอย่างหัวข้อในวิชาคณิตศาสตร์ที่สามารถเป็นโครงงานระดับมัธยมศึกษาตัวอย่างหัวข้อในวิชาคณิตศาสตร์ที่สามารถเป็นโครงงานระดับมัธยมศึกษา • สร้างเกมกระดาน (board games)เช่น เกมเพิร์ล (pearl)หรือเกมเฮกส์ หรือเกมเศรษฐี
ตัวอย่างหัวข้อในวิชาคณิตศาสตร์ที่สามารถเป็นโครงงานระดับมัธยมศึกษาตัวอย่างหัวข้อในวิชาคณิตศาสตร์ที่สามารถเป็นโครงงานระดับมัธยมศึกษา • เศษส่วน เศษส่วนต่อเนื่อง พาลินโดลม (Palindromes) Euclidean Division Algorithm DO GEESE SEE GOD?
ตัวอย่างหัวข้อในวิชาคณิตศาสตร์ที่สามารถเป็นโครงงานระดับมัธยมศึกษาตัวอย่างหัวข้อในวิชาคณิตศาสตร์ที่สามารถเป็นโครงงานระดับมัธยมศึกษา • ระยะทางระหว่างจุดสองจุดบนรูปทรงหลายหน้า รูปภาพจาก web.ku.ac.th/schoolnet/snet2/paper/short.htm
ตัวอย่างหัวข้อในวิชาคณิตศาสตร์ที่สามารถเป็นโครงงานระดับมัธยมศึกษาตัวอย่างหัวข้อในวิชาคณิตศาสตร์ที่สามารถเป็นโครงงานระดับมัธยมศึกษา • ความยาวรอบรูปของวงรี พื้นที่ ??? เส้นรอบรูป ???
ตัวอย่างหัวข้อในวิชาคณิตศาสตร์ที่สามารถเป็นโครงงานระดับมัธยมศึกษาตัวอย่างหัวข้อในวิชาคณิตศาสตร์ที่สามารถเป็นโครงงานระดับมัธยมศึกษา • การเดินแบบสุ่ม (Random Walks) รูปภาพจากen.wikipedia.org/wiki/Randomwalk
ตัวอย่างหัวข้อในวิชาคณิตศาสตร์ที่สามารถเป็นโครงงานระดับมัธยมศึกษาตัวอย่างหัวข้อในวิชาคณิตศาสตร์ที่สามารถเป็นโครงงานระดับมัธยมศึกษา • จำนวนสมบูรณ์ (perfect numbers) 6 = 1 + 2 + 3 = 21(22 – 1) 28 = 1 + 2 + 4 + 7 + 14 = 1 + 2 + 3 + 4 + 5 + 6 + 7 = 22(23 – 1) = 13 + 33 496 = 1 + 2 + 3 + … + 30 + 31 = 24(25 – 1) = 1 + 33 + 53 + 73 8128 = 1 + 2 + 3 + … + 126 + 127 = 26(27 – 1) = 1 + 33 + 53 + 73 + … + 133 + 153