380 likes | 1.52k Views
CPR Guideline 2010. นางยุพยง ทีปประสาน โรงพยาบาลราชวิถี. Electrical Phase 0-4 Minutes After Collapse Early Ischemia. Circulatory Phase 4-10 Minutes After Collapse Sustained Ischemia. Phases of VF Cardiac Arrest. Metabolic Phase > 10 Minutes After Collapse Global Tissue Injury.
E N D
CPR Guideline 2010 นางยุพยง ทีปประสาน โรงพยาบาลราชวิถี
Electrical Phase0-4 Minutes After CollapseEarly Ischemia Circulatory Phase4-10 Minutes After CollapseSustained Ischemia Phases of VF Cardiac Arrest Metabolic Phase> 10 Minutes After CollapseGlobal Tissue Injury Weisfeldt ML, Becker LB. Resuscitation After Cardiac Arrest: a 3-phase time-sensitive model. JAMA 2002; 288[23]:3035-3038
Collapse to start of CPR: 1, 5, 10, 15 Minutes Early CPR is Important Valenzuela TD, Roe DJ, Cretin S, et al. Estimating effectiveness of cardiac arrest interventions: a logistic regression survival model. Circulation. 1997; 96[10]:3308-3313
Immediate Defibrillation Early CPR Early Recognized & Activation Post CPR Care Effective ACLS Chain of Survival
ผู้ป่วยหมดสติ ไม่ตอบสนอง ไม่หายใจ หรือหายใจไม่ปกติ เช่น หายใจ Air Hunger เรียกทีมช่วยเหลือ นำ AED/Defibrillator มาใช้ (อาจให้คนช่วยที่ 2 ช่วย) คลำชีพจร ไม่เกิน 10 วินาที คลำไม่ได้ คลำได้ชัด เริ่ม CPR โดยกดหน้าอก 30 ครั้ง ตามด้วยช่วยหายใจ 2 ครั้ง ช่วยหายใจ 1 ครั้ง ทุกๆ 5-6 วินาทีคลำชีพจรทุก 2 นาที AED/Defibrillator มาถึง แผนภูมิการช่วยชีวิตผู้ใหญ่ขั้นพื้นฐาน (Adult BLS) ควร Shock ไม่ควร Shock วิเคราะห์จังหวะการเต้นหัวใจShock หรือไม่ควร Shock กดหน้าอกทันที 2 นาที วิเคราะห์จังหวะการเต้นของหัวใจทุก 2 นาที CPR จนทีมช่วยเหลือมาหรือผู้ป่วยเริ่มขยับ Shock 1 ครั้ง ตามด้วยกดหน้าอกทันที 2 นาที
Adult Basic Life Support (BLS) หมดสติ เรียกไม่ตอบสนอง หรือหายใจไม่ปกติ Air Hunger
Push Hard, Push Fast กดแรง - กดเร็ว - ปล่อยมือให้หมด - กดต่อเนื่อง C: Chest Compression
Chest Compression กดหน้าอก วางส้นมือแรกตรงกลางหน้าอก ซ้อนอีกมือ ล็อกนิ้ว
กดลึกเกิน 2 นิ้ว (5 cm) กดแรง (Adequate Depth) West Jefferson Medical Center paramedic Jerry Domaschk demonstrates how deep a chest compression should go on a CPR dummy. Source: Nola.com
กดต่อเนื่องด้วยความเร็ว อย่างน้อย 100 ครั้งต่อนาที • ใน 1 นาที จะกดได้มากกว่า 60 ครั้ง • กดตามจังหวะของเพลง Stayin Alive วง Bee Gees กดเร็ว (Adequate Compression Rate)
ปล่อยมือให้หมด (Full Chest Recoil)
หลัง Defibrillation หรือ Shock ให้กดหน้าอกต่อ ไม่ต้องคลำชีพจร • หยุดกดหน้าอกแค่ 5-10 วินาทีก่อน Defibrillation จะลดโอกาสที่ Shock จะสำเร็จ จะหยุดเมื่อ มีคนมาช่วย ให้เปลี่ยนหน้าที่กดหน้าอกทุกๆ 2 นาที ผู้ป่วยเริ่มตื่น หรือหายใจปกติ ผู้ช่วยหมดแรง กดต่อเนื่อง (Minimal Interruption)
Head Tilt, Chin Lift A: Airway
Jaw Thrust ถ้าสงสัย C-spine Injury A: Airway
หัวใจหยุดเต้น (Cardiac Arrest)ขอความช่วยเหลือ เรียกทีมช่วยชีวิต • เริ่ม CPR • ให้ออกซิเจน • ติด AED/Defibrillator วิเคราะห์จังหวะการเต้นหัวใจShock หรือไม่ควร Shock VF/VT Asystole/PEA Shock ครั้งที่ 1 • CPR2 นาที • เปิด IV/IO • CPR2 นาที • เปิด IV/IO • Epinephrine ทุก 3-5 นาที • พิจารณาใส่ท่อช่วยหา Capnography ควร Shock Shock ครั้งที่ 2 ใช่ แผนภูมิการช่วยชีวิตผู้ใหญ่ขั้นสูง(Adult ACLS) ควร Shock • CPR2 นาที • Epinephrine ทุก 3-5 นาที • พิจารณาใส่ท่อช่วยหา Capnography • CPR2 นาที • หาสาเหตุที่แก้ไขได้ ควร Shock ใช่ ควร Shock Shock ครั้งที่ 3 มี ROSC ให้ Post CPR Care ไม่มี ROSC • CPR2 นาที • Amiodarone • หาสาเหตุที่แก้ไขได้
CPR Quality • Push hard (≥2 inches [5 cm] and fast (≥100/min) and allow complete chest recoil • Minimize interruptions in compressions • Avoid excessive ventilation • Rotate compressor every 2 minutes • If no advanced airway, 30:2 compression-ventilation ratio • Quantitative waveform capnography • If PETCO2 <10 mmHg, attempt to improve CPR Quality • Intra-arterial pressure • If relaxation phase (diastolic) pressure <20 mmHg, attempt to improve CPR Quality • Return of Spontaneous Circulation (ROSC) • Pulse and blood pressure • Abrupt sustained increase in PETCO2 (typically ≥40 mmHg) • Spontaneous arterial pressure waves with intra-arterial monitoring • Shock Energy • Biphasic: Manufacturer recommendation (120-200 J); if unknown, use maximum available. Second and subsequent doses should be equivalent, and higher doses may be considered. • Monophasic: 360 J • Drug Therapy • Epinephrine IV/IO Dose: 1 mg every 3-5 minutes • Vasopressin IV/IO Dose: 40 U can replace 1st or 2nd dose of epinephrine • Amiodarone IV/IO Dose: 1st dose: 300 mg bolus. 2nd dose: 150 mg. • Advanced Airway • Supraglottic advanced airway or endotracheal intubation • Waveform capnography to confirm & monitor ET tube replacement • 8-10 breaths per minute with continuous chest compressions • Reversible Causes • Hypovolemia, Hypoxia, Hydrogen ion (acidosis), Hypo/Hyperkalemia, Hypothermia, Tension pneumothorax, Tamponade (cardiac), Toxins, Thrombosis (pulmonary), Thrombosis (coronary) Circular ACLS Algorithm
กดแรงลึก (Push hard ≥ 2 นิ้วหรือ 5 cm) และกดเร็ว (Push fast ≥ 100 ครั้งต่อนาที) • ปล่อยคืนให้สุด (Complete Chest Recoil) • หยุดกดหน้าอกให้น้อยที่สุด (Minimal Interruption) • กดหน้าอกตามด้วยช่วยหายใจ ในอัตรา 30:2 • เปลี่ยนหน้าที่ผู้กดหน้าอกทุก 2 นาที • ถ้าใส่ท่อช่วยหายใจ บีบ bag ไม่ต้องเร็วเกิน (Avoid Excessive Ventilation) • วัด End Tidal CO2 ถ้า PETCO2 < 10 mmHg พยายามแก้ไขคุณภาพ CPR • ผู้ป่วยที่ใส่ Arterial Line แล้ว ถ้าความดันในช่วงหัวใจคลายตัว (Diastole) < 20 mmHg พยายามแก้ไขคุณภาพ CPR คุณภาพ CPR ที่ดี
คลำชีพจรและวัดความดันโลหิตได้คลำชีพจรและวัดความดันโลหิตได้ • End Tidal CO2 เพิ่มขึ้นและคงที่ ≥ 40 mmHg • มีคลื่นแสดงแรงดันจากหัวใจบีบตัวเอง จาก Arterial Line (A-line) Return of Spontaneous Circulation (ROSC)
เครื่องมาถึง ให้ใช้ได้ทันที ไม่ต้องรอกดหน้าอกจนครบ 30 ครั้ง • ขั้นตอนเหมือนปกติ • เปิดเครื่อง • แกะซอง Adhesive Pad ติดแผ่น ที่หน้าอกและต่อสายเข้าเครื่อง Automated External Defibrillator (AED)
3. อย่าสัมผัสผู้ป่วย ขณะเครื่องทำการอ่าน Automated External Defibrillator (AED)
3. กดปุ่ม ถ้าเครื่องแนะนำให้ Shock • 4. ถ้าเครื่องไม่แนะนำ และได้ทำการ Shock แล้ว ก็ให้กดหน้าอกต่อทันที Automated External Defibrillator (AED)
ระดับพลังงานไฟฟ้าในการทำ Defibrillation หรือ Shock • ถ้าเป็นพลังงานแบบ Biphasic ระดับพลังงานขึ้นกับยี่ห้อของเครื่อง Defibrillator โดยทั่วไปอยู่ในช่วง 120-200 J • ถ้าไม่ทราบ ให้เลือกใช้ระดับพลังงานไฟฟ้าที่สูงสุด ในการ Shock ครั้งถัดไป ให้ใช้พลังงานอย่างน้อยเท่าเดิมหรือสูงขึ้น • ถ้าเป็นพลังงานแบบ Monophasic ใช้ 360 J รายละเอียดแผนภูมิการช่วยชีวิตผู้ใหญ่ขั้นสูง(Adult ACLS)
การรักษาด้วยยา • Epinephrine 1mg IV/intra-osseous (IO) ทุกๆ 3-5 นาที • Vasopressin 40 U ทาง intravenous (IV)/intra-osseous (IO) แทน Epinephrine dose ที่ 1 และ 2 ได้ • Amiodarone ทาง intravenous (IV)/intra-osseous (IO) Dose แรก 300 mg, Dose ที่ 2 150 mg รายละเอียดแผนภูมิการช่วยชีวิตผู้ใหญ่ขั้นสูง(Adult ACLS)
การเปิดทางเดินหายใจขั้นสูงการเปิดทางเดินหายใจขั้นสูง • สามารถใส่ท่อช่วยหายใจ (Endotracheal Tube) หรือ Laryngeal Airway ใช้รูปคลื่นของ End Tidal CO2 มาช่วยยืนยันตำแหน่งท่อช่วยหายใจ และเฝ้าติดตามช่วยหายใจในอัตรา 8-10 ครั้งต่อนาที ร่วมกับการกดหน้าอกต่อเนื่องโดยไม่ต้องหยุด • หาสาเหตุที่แก้ไขได้ (Reversible Causes) • 5H ได้แก่Hypovolemia, Hypoxia, Hydrogen ion (acidosis), Hypo/Hyperkalemia, Hypothermia • 5T ได้แก่ Tension pneumothorax, Tamponade (cardiac), Toxins, Thrombosis (pulmonary), Thrombosis (coronary) รายละเอียดแผนภูมิการช่วยชีวิตผู้ใหญ่ขั้นสูง(Adult ACLS)
European Resuscitation Council Guidelines for Resuscitation 2010 http://resuscitation-guidelines.articleinmotion.com/article/S0300-9572(10)00447-8/aim 2010 International Consensus on Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care Science with Treatment Recommendations http://circ.ahajournals.org/content/vol122/16_suppl_2/ Estimating Effectiveness of Cardiac Arrest Interventions. A Logistic Regression Survival Model Terence D. Valenzuela, MD, MPH; Denise J. Roe, DrPH; Shan Cretin, PhD; Daniel W. Spaite, MD; ; Mary P. Larsen, MS http://circ.ahajournals.org/cgi/content/full/96/10/3308 Reference
Do doctors position defibrillation paddles correctly? Observational study Richard M Heames, Daniel Sado, Charles D Deakin BMJ 2001;322:1393 doi:10.1136/bmj.322.7299.1393 (Published 9 June 2001) http://www.bmj.com/content/322/7299/1393.full 2010 American Heart Association Guidelines for Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care https://www.heart.org/idc/groups/heart-public/@wcm/@ecc/documents/downloadable/ucm_318152.pdf CPR Guideline 2010 อาจารย์นายแพทย์ฉัตรกนก ทุมวิภาค สาขาหทัยวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล Reference