1 / 69

การบริหารการศึกษา อันนำไปสู่การพัฒนาประเทศไทย

การบริหารการศึกษา อันนำไปสู่การพัฒนาประเทศไทย. โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ วันศุกร์ที่ 27 กรกฎาคม 2550 เวลา13.30-16.00น. ณ ห้อง105 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในโอกาสจุฬาฯครบ90ปี. ขอบข่ายสาระ. 1. ทำไมการศึกษาคือปัจจัยอำนาจ พัฒนาประเทศไทย

jill
Download Presentation

การบริหารการศึกษา อันนำไปสู่การพัฒนาประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารการศึกษาอันนำไปสู่การพัฒนาประเทศไทยการบริหารการศึกษาอันนำไปสู่การพัฒนาประเทศไทย โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ วันศุกร์ที่ 27 กรกฎาคม 2550 เวลา13.30-16.00น. ณ ห้อง105 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในโอกาสจุฬาฯครบ90ปี

  2. ขอบข่ายสาระ • 1. ทำไมการศึกษาคือปัจจัยอำนาจพัฒนาประเทศไทย • 2. ประเมินพลังอำนาจของการศึกษาไทย • 3. ผลประเมิน : การศึกษาคือจุดอ่อนของประเทศไทย • 4. จุดอ่อนการศึกษาไทยอยู่ที่ไหน • 5. อะไรทำให้โรงเรียนดี มีตัวอย่างดีๆจากประเทศที่ทำดีๆ • 6. การศึกษาไทยที่กำลังทำอยู่ พอจะมีหวังหรือไม่ • กรณีตัวอย่างให้ท่านช่วยเสนอแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กสพฐ. 2

  3. ลำดับความคาดหวังจากการศึกษาขยับสูงขึ้นเรื่อยมา พออ่านออกเขียนได้ รู้พอทำมาหากินได้ เอาตัวให้รอด รู้ทันผู้คนในสังคม ต้องจัดการความรู้ในองค์กร สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ต้องแข่งขันได้ในเวทีโลก ทำไมการศึกษาคืออำนาจ 3

  4. ประเมินสถานภาพการศึกษาไทย 1.วัดจากศักยภาพการแข่งขันทุกด้านของประเทศรวมการศึกษาโดยใช้ดัชนีIMD 2.วัดจากดัชนีคุณภาพนักเรียนPISA (Programme for International Assessment) 3.วัดจากค่าใช้จ่ายโดยWorld Bank 4.วัดจากดัชนีการศึกษาเพื่อปวงชนของUNESCO 5.ใช้การประเมินคุณภาพโดยสำนักงานประเมินและรับรองคุณภาพการศึกษา (สมศ.) 4

  5. IMD: อันดับสมรรถนะการศึกษาไทย 48จาก61ปี2549 5

  6. JPN 550 HKG KOR FIN CAN GBR NZL AUS IRL SWE AUT CZE NOR FRA CHE BEL ISL 500 DNK USA ESP HUN DEU POL ITA RUS GRC LVA PRT 450 THA BGR ISR LUX MEX 400 ARG CHL MKD IDN ALB BRA 350 PER 300 0 5000 10000 30000 35000 45000 15000 25000 40000 20000 2.วัดคุณภาพนักเรียน&รายได้ประชาชาติ(TIMSSและPISA) ไทยคาบเส้น Average performance (reading, mathematical and scientific literacy) 6 ปิยะบุตร ชลวิจารณ์ : GDP per capita (US$ converted using PPPs)

  7. วัดคูณภาพนักเรียนจากการอ่าน (PISA 2000) คะแนนเฉลี่ย และอันดับของประเทศเอเซีย อันดับที่ 1. ฟินแลนด์ 2. แคนาดา 3. ออสเตรเลีย หมายเหตุ : 7

  8. คณิตศาสตร์ (TIMSSและPISA)

  9. วิทยาศาสตร์ ลำดับที่ของประเทศในการประเมินผล

  10. ไทย อันดับ 34 และอยู่ที่ 25%ท้ายสุด ทักษะการแก้ปัญหา(PISA2003) 10

  11. 1 เวลาเรียนของนักเรียนไทยน้อยกว่าที่อื่น 2 เศรษฐกิจ และ ทรัพยากรการเรียน - ทรัพยากรโครงสร้างพื้นฐานมีความสัมพันธ์ต่ำกับ คะแนนคณิตศาสตร์ - ทรัพยากรการเรียนส่งผลต่อผลการเรียนรู้โดยตรง 3 ขาดครูที่สามารถสอนได้ดี 4 ภูมิหลังทางเศรษฐกิจและสังคมของครอบครัว PISA บอกปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้

  12. PISA บอก พบจุดอ่อนการเขียนของนักเรียนอายุ15ปี • เขียนหนังสือผิดและสะกดหนังสือผิดพบมากที่สุด • ใช้คำผิด ไม่สามารถแยกแยะระหว่างภาษาพูดกับภาษาเขียน • เรียงประโยคไม่เป็น เขียนไม่เป็นประโยค • เรียบเรียงความคิดลงเป็นการเขียนไม่ได้ วกวน หาจุดสำคัญไม่ได้

  13. เวลาที่ใช้ในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เวลาที่ใช้ในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ประเทศ ป.4 ป. 6 ม. 2 16% 16% 16% 12% 18% 11% 15% 15% 15% 14% 14% 14% 17% 17% 13% 14% 13% 12% 20% 20% 13% 12% 11% 10% 22% 20% 15% 8% 8% 8% ฟินแลนด์ จีน-ไทเป จีน-ฮ่องกง อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น เกาหลี มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย เวลาที่ใช้ในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ (TIMSS 1999)  13

  14. จำนวนปีการศึกษาที่ได้รับการศึกษาเฉลี่ยของคนไทย ปี 2543-2547 14

  15. ทรัพยากรโครงสร้างพื้นฐาน (PISA 2003) ค่าเฉลี่ย OECD ไทยไม่ขาดแคลน (ดัชนีมีค่าเท่ากับ OECD) 15

  16. แหล่งเรียนรู้(PISA 2003) ค่าเฉลี่ย OECD ไทยขาดทรัพยากรการเรียน (ดัชนีต่ำกว่าค่าเฉลี่ย)

  17. ประเทศส่วนใหญ่จะจัดสรรงบการศึกษาพื้นฐานมากกว่าระดับอื่นๆประเทศส่วนใหญ่จะจัดสรรงบการศึกษาพื้นฐานมากกว่าระดับอื่นๆ ปิรามิดหัวกลับ(สหรัฐอเมริกา) รูปเพชรเอเชียตะวันออก ปัจจุบัน รูปปิรามิด(ประเทศส่วนใหญ่, circa 1960) ฐานแคบลง เอเชียตะวันออก 1980s) (ไทย) 3.วัดจากลักษณะการกระจายงบประมาณ (World Bank) อุดมศึกษา …บางประเทศเน้นหลังมัธยม มัธยม ประถม Source : World bank 2003

  18. 4.ประเมินสถานภาพการศึกษาจากสภาพจริง4.ประเมินสถานภาพการศึกษาจากสภาพจริง 4.1 งบประมาณการศึกษา 2000-2005 ปีงบประมาณ 2000 2001 2002 2003 2004 2005 งบการศึกษา 200,621 221,603 222,900 225,092 251,233 262,938 (ล้านบาท) % งบทั้งประเทศ25.7 24.4 21.8 23.5 24.4 21.9 As % of GDP 4.5 4.3 4.1 4.0 3.9 3.7 ปี2006 As % of GDP=3.41 / ปี207=3.86 / ปี2008 =3.32 ยูเนสโกแนะนำงบการศึกษาต่อGDPที่เหมาะสมต้อง8 % และไทยอยู่อันดับ61จาก190 ประเทศในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

  19. 4.2 เปรียบเทียบการรับนักเรียนนักศึกษาปีการศึกษา2548-2549อาชีวะคือจุดอ่อน 953,980 953,832 566,978 586,523 414,337 327,298 395,585 303,779 196,089 200,759 ปวส.1 ม.1 ม.4 มหา’ลัย ปี 1 ปวช.1 (ปี 2549 ในระดับมหา’ลัย ปี 1 ไม่นับรวมมหาวิทยาลัยเอกชน 16 แห่ง)

  20. จำนวนนิสิต/นักศึกษา ปี 2547 ปริญญาตรี จุดอ่อนไทย นิสิตเลือกเรียนสังคมศาสตร์ 20

  21. 4.3 ขาดแคลนครู เกือบ1แสนคน สพฐ : 50,456 คน สอศ. : 21,492คน สกอ. : 20,108คน กศน.: 2,814คน รวม: 94,870คน 21

  22. 4.4 การประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา โดยสมศ. ระดับขั้นพื้นฐาน (รอบแรก พ.ศ. 2544-2548) จำนวน 30,010 แห่ง กว่า 90%เป็นโรงเรียนประถมศึกษา 19,507 แห่ง65% 10,503 แห่ง35% 560 โรงเรียนมีคะแนนต่ำสุด : ต้องรีบเร่งปรับปรุง

  23. แสดงร้อยละของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีระดับคุณภาพดีแสดงร้อยละของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีระดับคุณภาพดี จำแนกตามรายมาตรฐาน (มฐ.)

  24. รายงานการติดตามภาคการศึกษาของไทยปี2549 โดยสศช. • คนไทยอายุ15 ปีขึ้นไป อ่านออกเขียนได้95% ของประชากรในปี 2548ดีเชิงปริมาณ แต่คุณภาพมีจุดอ่อน • สำนักรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ปี 2544-2548 จำนวน 30,010 แห่ง พบว่ามีโรงเรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินเพียง 35% ของทั้งหมด • สถานศึกษาในภาคกลางได้มาตรฐานสูงสุด 51% • ภาคตะวันตก 44% ภาคตะวันออก 41% • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 34% ภาคเหนือ 31% • ภาคใต้ 30%

  25. การติดตามภาคการศึกษาของสศช.ปี2549 • สพฐ.ดูแลนักเรียน 8.7ล้านคน(75.8% ของทั้งประเทศ) มีโรงเรียนที่ผ่านเกณฑ์ประเมินเพียง 34% ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยทั้งประเทศ • โรงเรียนเอกชนที่มีนักเรียนประมาณ 1.9 ล้านคน คิดเป็น 16.6% ก็ผ่านเกณฑ์มาตรฐานเพียง 49% เท่านั้น • สัดส่วนครูต่อนักเรียนของรร.สังกัดสพฐ.ในปี 2548เกินเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ว่าครู 1 คน ต่อนักเรียน 25 คน ถึง 13.8% • ครูสอนหลายวิชา รวมทำงานธุรการ การเงิน รับส่งหนังสือวิชาการ ดูแลร้านค้าสวัสดิการของโรงเรียน ต้องสอนควบห้องอื่นด้วย ในกรณีครูที่รับผิดชอบมีภารกิจราชการอื่น

  26. การติดตามภาคการศึกษาของประเทศไทยปี2549 สศช. • เยาวชนได้รับการศึกษาภาคบังคับทั่วถึง แต่คุณภาพการศึกษาไม่ดีขึ้น • จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ ปี 2549 พบว่านักเรียนสอบได้คะแนนอยู่ในเกณฑ์ต่ำกว่าร้อยละ 50 เกือบทุกวิชา • ป6 ภาษาไทยได้คะแนนร้อยละ 42.74 • ภาษาอังกฤษได้คะแนนร้อยละ 34.51 • คณิตศาสตร์ได้คะแนนร้อยละ 38.87 • ม 3 คณิตศาสตร์ได้คะแนนร้อยละ 31.15 • ภาษาอังกฤษได้คะแนนร้อยละ 30.85 เป็นต้น

  27. การติดตามภาคการศึกษาของประเทศไทยปี2549 สศช. • สรุปผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาทุกระดับของนักเรียนไทยมีปัญหาอยู่ในระดับวิกฤตต้องแก้ไขด่วน • สาเหตุของปัญหาน่าจะมาจากระบบการให้บริการทางการศึกษาทั้งด้านคุณภาพสถานศึกษาและครูผู้สอนยังมีจุดอ่อนอยู่มาก • ดังนั้น ต้องแก้ไขภารกิจครูให้เหมาะสมกับภารกิจหลัก คือการสอนหนังสือ

  28. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แถลงภาวะสังคมไตรมาสหนี่ง (ม.ค.-มี.ค.) ปี 2550 • น่าห่วงคือเด็กและเยาวชนกระทำผิดเพิ่มขึ้นจาก11,045คดี ในปี 2549 เพิ่มเป็น11,755คดีในปี2550หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ6.4 • สาเหตุสำคัญกระทำผิดยังคงมาจากการคบเพื่อน มีสัดส่วน มากที่สุดถึงร้อยละ 38.5 • จำนวนผู้สูบบุหรี่ประจำลดลง แต่ผู้สูบบุหรี่เป็นครั้งคราวเพิ่มขึ้นจาก 0.6 ล้านคนในปี2534 เป็น 1.5 ล้านคน ในปี 2549 หรือมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 1.54 ของประชากรในปี 2534 เป็นร้อยละ 2.97 ในปี 2549 • ในจำนวนนี้มีเด็กและเยาวชนสูบบุหรี่ค่อนข้างมาก โดยเด็กอาชีวะสูบบุหรี่ถึงร้อยละ23.95ของประชากร ระดับอุดมศึกษาสูบบุหรี่ร้อยละ 22.5 และระดับมัธยมร้อยละ 10.87

  29. “สนช”เปิดเวทีวิพากษ์ วิกฤตการศึกษาไทย(มติชน14กค2550) "ตำราชีววิทยามีน้อยมากและไม่ทันสมัย ขาดการจูงใจให้อยากอ่าน” "ตำราฟิสิกส์ที่มีอยู่ไม่น่าภาคภูมิใจ ทั้งที่น่าจะพัฒนาให้ดีขึ้นได้“ “ปัญหาหลักคณิตศาสตร์ครูส่วนใหญ่ไม่จบคณิตศาสตร์” "การศึกษาไทยวิกฤตทุกจุดและทุกระดับ ตั้งแต่ขั้นพื้นฐานถึงระดับอุดมศึกษา ชัดเจนมากที่สุดคือ บัณฑิตที่จบสถาบันอุดมศึกษาไม่มีคุณภาพ” "ที่ผ่านมาปัญหาระบบแอดมิสชั่นส์เกิดจากการอิงค่าคะแนนการเรียนตลอดหลักสูตรม.ปลายมากเกินไปทั้งที่แต่ละโรงเรียนมีมาตรฐานต่างกัน เท่าที่ สทศ.วิเคราะห์พบว่า มีโรงเรียนให้เกรดเฟ้อกว่า 47เปอร์เซ็นต์ ปัจจุบันมีนักเรียน ม.6 ที่ไม่รู้ว่าตัวเองต้องการจะเข้าเรียนสาขาใด”

  30. ผลประเมินทุกฝ่าย : การศึกษาคือจุดอ่อนของประเทศไทย ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) สรุปงานสัมมนาประจำปี 2549 ของธปท.ในหัวข้อ “ประเทศไทยกับการก้าวสู่เศรษฐกิจเอเชียยุคใหม่ ” (ใช้ข้อมูลธนาคารโลก) *จุดอ่อนที่สุดของประเทศไทยคือด้านการศึกษา ส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันและการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศไทย 24

  31. แก้จุดอ่อนการศึกษาไทย (ข้อเสนอธปท.) • 1.จุดอ่อนที่เด็กอายุก่อน6ขวบซึ่งเป็นช่วงเหมาะสมที่สุดในการพัฒนา โดยธปท.มองว่าควรจะเพิ่มทั้งการอบรมสั่งสอนและการให้ความรู้ ซึ่งจะดีมากหากเพิ่มการศึกษาภาคบังคับจาก12 ปี เป็น 15 ปี • ให้เริ่มจากประมาณ 3 ขวบ เพื่อให้เด็กไปโรงเรียนเร็วขึ้น ซึ่งรัฐบาลควรให้การอบบรมผ่านครูและการให้กินนมหรืออาหารเสริมจากโรงเรียนได้ซึ่งดีกว่าการให้เงินพ่อแม่ 25

  32. ทำไมการศึกษาจึงเป็นจุดอ่อนที่สุดของประเทศไทยทำไมการศึกษาจึงเป็นจุดอ่อนที่สุดของประเทศไทย • 2. ต้องยกระดับโรงเรียนของรัฐบาลและโรงเรียนในชนบทให้เท่าเทียมกับโรงเรียนเอกชน เพื่อลดช่องว่างคนรวยและคนจนให้ห่างกันน้อยลง • 3. ดูแลครูเพิ่มขึ้น ทั้งในด้านการเสริมความรู้ การดูแลด้านหนี้สิน และปรับโครงสร้างเงินเดือนให้สามารถใช้ชีวิตอยู่ได้ • 4. ห่วงความไม่เท่าเทียมทางการศึกษา คนภาคอีสานได้รับการศึกษาน้อยกว่าภาคอื่น และเด็กที่มีฐานะดีมีการศึกษาที่ดีกว่า 26

  33. แก้จุดอ่อนการศึกษาไทย • 5. การลงทุนด้านงบประมาณของรัฐ • ควรเน้นลงทุนในช่วงวัยเด็กเล็ก เพราะเป็นช่วงที่ทำให้เด็กมีประสิทธิภาพจากการลงทุนสูงสุด แต่ปัจจุบันไทยลงทุนด้านอุดมศึกษาสูงกว่า • ไทยควรวางนโยบายการพัฒนาคนต้องกระตุ้นให้เกิดการแข่งขันมากขึ้นทั้งโรงเรียน บริษัท และตลาดแรงงาน โดยใช้ระบบภาษีมาจูงใจ” 29

  34. ปัญหาการบริหารการศึกษา: ข้อเสนอจากนักวิชาการ • 1.ปัญหาเอกภาพโครงสร้างระดับกระทรวง มี 5 องค์กรหลัก • 2.ปัญหาระดับสำนักงาน - สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประเด็นมหาวิทยาลัยขอออกนอกระบบ - สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา รอกฎหมายมากว่า 4 ปี - สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนขนาดเล็ก1ใน3เผชิญวิกฤติ ต้องดูแลครูหลายแสนคนทั่วประเทศ 30

  35. ปัญหาของการบริหารงานปฏิรูปการศึกษาซึ่งเริ่มตั้งแต่ปี2542ปัญหาของการบริหารงานปฏิรูปการศึกษาซึ่งเริ่มตั้งแต่ปี2542 • 3.ปัญหาระดับเขตพื้นที่ โครงสร้างที่ต้องดูแล การประถมศึกษา มัธยม การศึกษาเอกชน และการศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด • 4.ปัญหาการบริหารงานบุคคล สพฐ.ถูกตัดอำนาจการบริหารงานบุคคล ตามมาตรา 25 แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ทำให้ถูกตัดเรื่องการถ่วงดุลอำนาจการบริหารงานบุคคลจากเขตพื้นที่ฯ และสถานศึกษาทุกแห่งทั่วประเทศ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องอำนาจในการโยกย้าย การบรรจุ การแต่งตั้ง 31

  36. ปัญหาของงานปฏิรูปการศึกษาซึ่งเริ่มปี2542 • 5.ปัญหาคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่ฯไม่ค่อยมีผู้ใดให้ความสำคัญเท่าใดนัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเขตพื้นที่ฯ บางแห่งมีการประชุมคณะกรรมการเขตพื้นที่ฯ เพียงปีละ 1-2 ครั้งเท่านั้น • 6.ปัญหาเรื่องการกระจายและมอบอำนาจให้การบริหารทุกอย่างลงสู่เขตพื้นที่ฯ และสถานศึกษาทั่วประเทศ และโรงเรียนเป็นนิติบุคคล • 7. การถ่ายโอนอำนาจการจัดการศึกษาไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ซึ่งเป็นปัญหาคาใจของบุคลากรที่สังกัด ศธ. กระทรวงมหาดไทยไปจนถึงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย 32

  37. ข้อเรียกร้องเครือข่ายประชาชนเพื่อการปฏิรูปสังคมและการเมือง (คปสม.) 1)รัฐต้องจัดให้มีการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายอย่างแท้จริง 2) จัดให้เด็กทุกคนมีโอกาสเข้าถึงการศึกษาพื้นฐาน เน้นโรงเรียนในชนบทเปิดการศึกษาภาคบังคับ ครบ9 ปี จัดสวัสดิการให้แก่เด็กยากจน เด็กด้อยโอกาสและ เด็กพิการอย่างทั่วถึง 3) หลักประกันคุณภาพการศึกษา ให้ชุมชนกลุ่มวัฒนธรรม มีสิทธิในการจัดการศึกษาพื้นฐานในชุมชนเองได้ ให้ยืดหยุ่นในการกำหนดสัดส่วนหลักสูตรกลางกับท้องถิ่น และพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการศึกษา 4) การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน พัฒนาศักยภาพกรรมการสถานศึกษาให้ทำหน้าที่บริหารสถานศึกษาและจัดการให้เกิดการมีส่วนร่วมในชุมชนได้

  38. สรุปปัญหาใหญ่การศึกษาไทยอยู่ที่ผลผลิต:การคิด+การอ่านสรุปปัญหาใหญ่การศึกษาไทยอยู่ที่ผลผลิต:การคิด+การอ่าน 1.คิดผิด:คิดแบบเอาเปรียบ,คิดเรียนลัด,คิดเก็งกำไร 2.คิดไม่เป็น:ตามผู้อื่น,เลียนแบบ,เชื่อเพราะผู้พูดเป็นผู้ใหญ่หรือผู้อาวุโส 3.ไม่คิด: ติดนิสัยพึ่งพาผู้อื่น,เชื่อตัวบุคคล,เชื่อนัก วิชาการ,เชื่อหนังสือพิมพ์โดยไม่ไตร่ตรอง 4.คิดแล้วไม่ทำ: ประชุมเสร็จก็เลิกรา, ปล่อยให้คน ที่รับผิดชอบไปทำคนเดียว, ไม่ช่วยระดมในรูปกลุ่ม 33

  39. แก้ให้ถูกจุด ต้องสอนให้คิดได้ 10มิติ 1. คิดเชิงวิพากษ์ค้นหาจุดดีจุดอ่อน 2. คิดเชิงวิเคราะห์จำแนกแจกแจง, หาเหตุผล 3. คิดเชิงสังเคราะห์นำข้อมูลไปรวมกัน เป็นสถานการณ์ใหม่ 4. คิดเชิงเปรียบเทียบชั่งน้ำหนัก เชื่อมโยงกับสิ่งอื่น 5. คิดเชิงมโนทัศน์คิดถึงแก่น,หลักการ,ปรัชญา 34

  40. การปฏิรูปการเรียนการสอนใหม่ ต้องสอนให้คิดได้ 10มิติ (ต่อ) 6. คิดเชิงประยุกต์นำไปทดลองใช้ในรูปแบบอื่น 7. คิดเชิงกลยุทธค้นหากลอุบายทางเลือก หลายทางไปสู่ความสำเร็จ 8. คิดเชิงบูรณาการคิดแบบผสมผสาน,ใช้ความรู้รอบด้านมาตอบ 9. คิดเชิงสร้างสรรค์คิดสร้าง,ค้นหาสิ่งแปลกใหม่ไม่เคยมีมาก่อน 10. คิดเชิงอนาคตวาดไปในอนาคต คาดการณ์จะเกิดอะไรขึ้น 35

  41. หมอประเวศ ชี้คนไทยอ่านน้อยต้นตอวิกฤตของบ้านเมือง 1. ส่งเสริมให้มีชมรมรักการอ่านในทุกหมู่บ้าน2. จัดหาหนังสือนิทานดีๆ ให้ทุกครอบครัวอ่าน โดยเฉพาะให้ลูกอ่าน3. จัดการแจกจ่าย Book Startให้ทุกครอบครัวที่มีเด็กเกิดให้มีหนังสือถึงบ้าน เพื่อรณรงค์รักการอ่าน4. ฟื้นฟูการอ่านในระบบการศึกษาจากอดีตที่มีวิชาการสอนย่อความอ่านจับใจความ ในระบบการศึกษาทุกระดับแต่ปัจจุบันเปลี่ยนไปเป็นข้อสอบปรนัย ทำให้เด็กรุ่นใหม่อ่านเขียนหนังสือไม่เป็น

  42. คนไทยอ่านน้อยต้นตอวิกฤตของบ้านเมืองคนไทยอ่านน้อยต้นตอวิกฤตของบ้านเมือง • 5. จัดประกวดการอ่านทั้งแผ่นดินในรูปแบบเดียวกับการสอบ จอหงวนของประเทศจีน ให้เกิดวัฒนธรรมเชิดชูการอ่าน • 6. รัฐต้องจัดทำรายการอ่านทางสถานีโทรทัศน์ • 7. รวบรวมศิลปินสร้างประติมากรรมสัญลักษณ์ให้ทุกวัยรักการอ่าน ยกตัวอย่างที่เมืองเปียงยาง ประเทศเกาหลีเหนือ มีประติมากรรมขนาดใหญ่เป็นรูปเยาวชนวัยหนุ่มสาวถือหนังสือ พร้อมเขียนข้อความปลุกระดมให้วัยหนุ่มสาวต้องมีหนังสือติดมือตลอดและอ่านทุกที่ทุกครั้งที่มีโอกาส

  43. ทักษะการอ่านเพื่อเรียนรู้ทักษะการอ่านเพื่อเรียนรู้ • 1.การสืบค้นสาระ อ่านเพื่อสืบหรือดึงเนื้อหาที่ได้อ่านออกมา • 2.การแปลหรือตีความ เข้าใจข้อความที่ได้อ่าน รู้ความหมาย • 3.การประเมินข้อความที่ได้อ่าน นำมาคิด เปรียบเทียบ จำแนกหรือโต้แย้งจากมุมมองของตนเอง • 4. ความสามารถใช้ประโยชน์การอ่าน กางตำราทำกับข้าวอ่านฉลากก่อนกินยา การอ่านกรอกแบบฟอร์ม

  44. การส่งเสริมการอ่าน:อ่านเร็ว อ่านมาก อ่านยาก อ่านทน อ่านเพราะ อ่านทำนองเสนาะ • อ่านดีคือ อ่านแล้วจับใจความ ตีความ และประเมินได้ -ครูต้องปรับการสอนเน้นสื่อสารมากกว่าเน้นไวยากรณ์ -เร่งงานวิจัยพัฒนาสร้างหลักสูตรวิธีสอนใหม่ๆให้ได้ผล -ครูต้องเปิดโอกาสให้เด็กเรียนรู้ด้วยตนเอง -ต้องมีอุปกรณ์ช่วยสอน -ใช้ภูมิปัญญาของพ่อแม่ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ของลูก 43

  45. วิธีถ่ายทอดให้ผู้เรียนเรียนรู้อ่านและคิดด้วยตนเองวิธีถ่ายทอดให้ผู้เรียนเรียนรู้อ่านและคิดด้วยตนเอง 1. ผสมผสานสรรพวิชาเข้าด้วยกัน 2. ให้รู้จักเรื่องใกล้ตัวก่อน แล้วจึงขยายวงออกไป 3. รู้จักตนเองก่อน จึงรู้จักผู้อื่น กลุ่มอื่น 4. นำเรื่องที่เหมาะสมกับตนเองมาก่อน ง่ายก่อน 5. ให้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคม 6. ไม่ติดยึดตำรา แหล่งเรียนรู้แหล่งเดียว อ่านให้มาก 7. เปิดใจให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ไปค้นหาเพิ่มเติม 8. ทำให้ผู้เรียนรู้ว่ามีสิ่งที่รู้แล้วแต่ยังไม่รู้อีกมาก ต้องใฝ่รู้มากขึ้น 9. สอนให้ฟังไปอ่านไปแล้วคิดตามไปด้วย 38

  46. โจทย์ข้อใหญ่ของสพฐ. กรณีตัวอย่างแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กสพฐ.ปี2549** ขนาดโรงเรียน จำนวนโรงเรียน 0 คน 248 แห่ง 1-21 คน 316 21-40 คน 1,296 41-60 คน 2,338 61-80 คน 2,980 81-100 คน 2,985 101-120 คน 2,665 รวม 12,828 แห่ง ข้อมูลจากสพฐ.16กค2550รายงานต่อผู้บริหารองค์กรหลัก**

  47. สภาพปัจจุบันปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กสพฐ.สภาพปัจจุบันปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กสพฐ. 1.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนไม่น่าพึงพอใจ 2. ขาดแคลนครูครูผู้สอนไม่ครบชั้นเรียน 3. ไม่มีภารโรง ครูและนักเรียนต้องรับภาระทุกอย่าง 4. ภาระงานของครูนอกเหนือจากการสอนมากเกินไป เช่น งานธุรการ การเงิน พัสดุ โครงการอาหารกลางวัน งานอนามัย 5. คนในชุมชนยากจน ไม่สามารถสนับสนุนทุนทรัพย์ และขาดการดูแลทางด้านการศึกษาของบุตรหลาน

  48. ลักษณะโรงเรียนขนาดเล็กสพฐ.ลักษณะโรงเรียนขนาดเล็กสพฐ. 1. พร้อมเป็นแกนนำ 1,410 โรง 2. พร้อมแก้ปัญหาตนเอง 7,221 โรง 3. ขาดแคลนแต่ยุบไม่ได้ 3,329 โรง 4. ขาดแคลนควรยุบเลิก 301 โรง 5. อยู่ในพื้นที่พิเศษ 267 โรง รวม 12,828 โรง

  49. รูปแบบการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กสพฐ.รูปแบบการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กสพฐ. รูปแบบ A : ร.ร.ที่ตั้งเป็นศูนย์ 701 โรง รูปแบบ B : ร.ร.รวมช่วงชั้น 2,135 โรง รูปแบบ C : ร.ร.หลักที่ยุบรวมกัน 243 โรง รูปแบบ D : ร.ร.ที่เป็นเอกเทศ 8,536 โรง รูปแบบ E : Mobile Teacher 225 โรง รูปแบบ F : อื่น ๆ 988 โรง

  50. สิ่งที่สพฐ.ได้ดำเนินการไปแล้วสิ่งที่สพฐ.ได้ดำเนินการไปแล้ว - การรวมและเลิกล้มโรงเรียน - การจัดพาหนะสำหรับนักเรียน - การจัดศูนย์โรงเรียน - การเกณฑ์เด็กสองกลุ่มอายุ • การใช้สื่อ RITแบบเรียนด้วยตนเอง • การพัฒนาระบบ ICT

More Related