1 / 16

การบริหารยาที่มี ระยะห่างการบริหารยามากกว่า 24 ชั่วโมง

การบริหารยาที่มี ระยะห่างการบริหารยามากกว่า 24 ชั่วโมง. ภญ.วริศรา จินาทองไทย งานเภสัชกรรมคลินิก กลุ่มงานเภสัชกรรม 30 กันยายน พ.ศ 2557. Outline. ความหมายของการบริหารยา แนวทางปฏิบัติของการบริหารยา. ความหมายของการบริหารยา.

joel-holden
Download Presentation

การบริหารยาที่มี ระยะห่างการบริหารยามากกว่า 24 ชั่วโมง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารยาที่มีระยะห่างการบริหารยามากกว่า 24 ชั่วโมง ภญ.วริศรา จินาทองไทย งานเภสัชกรรมคลินิก กลุ่มงานเภสัชกรรม 30 กันยายน พ.ศ2557.

  2. Outline • ความหมายของการบริหารยา • แนวทางปฏิบัติของการบริหารยา

  3. ความหมายของการบริหารยาความหมายของการบริหารยา • คำสั่งการบริหารยาที่มีระยะห่างการบริหารยา (interval) มากกว่า 24 ชั่วโมง

  4. ยา/กลุ่มยาที่มีการบริหารยามากกว่า 24 ชั่วโมง • กลุ่ม aminoglycoside: amikacin, gentamicin, netilmicin • ยา colistine • ยา vancomycin

  5. แนวทางปฏิบัติของการบริหารยาแนวทางปฏิบัติของการบริหารยา • ยกตัวอย่างคำสั่งบริหารยาทุก 36 ชั่วโมง • Rx 30/9/57 gentamicin 350 mg drip in 1 hr q 36 hr  กรณีสั่งใช้ยาในช่วงเวลา 01.00-12.00 น. • บริหารยาเวลา 06.00 น.ในวันที่มีคำสั่ง และ บริหารยาเวลา 18.00 น. ของวันถัดไป  กรณีสั่งใช้ยาในช่วงเวลา 13.00-24.00 น. • บริหารยาเวลา 18.00 น.ในวันที่มีคำสั่ง และ บริหารยาเวลา 06.00 น. ของวันถัดไป

  6. การบันทึก administration medication record: MAR / บริหารยาเมื่อครบ 36 ชั่วโมง, x ไม่มีการบริหารยา

  7. การบันทึก administration medication record: MAR / บริหารยาเมื่อครบ 36 ชั่วโมง, x ไม่มีการบริหารยา

  8. แนวทางปฏิบัติของการบริหารยาแนวทางปฏิบัติของการบริหารยา • ยกตัวอย่างคำสั่งบริหารยาทุก 48 ชั่วโมง • Rx 30/9/57 vancomycin 750 mg+NSS 200 mL drip in 2 hr q 48 hr  กรณีสั่งใช้ยาในช่วงเวลา 01.00-12.00 น. • บริหารยาเข้ารอบเวลา 06.00 น.ในวันที่มีคำสั่ง  กรณีสั่งใช้ยาในช่วงเวลา 13.00-24.00 น. • บริหารยาเวลา 18.00 น.ในวันที่มีคำสั่ง

  9. การบันทึก administration medication record: MAR / บริหารยาเมื่อครบ 48 ชั่วโมง, x ไม่มีการบริหารยา

  10. แนวทางปฏิบัติของการบริหารยาแนวทางปฏิบัติของการบริหารยา • ยกตัวอย่างคำสั่งบริหารยาทุก 72 ชั่วโมง • Rx 30/9/57 vancomycin 750 mg+NSS 200 mL drip in 2 hr q 72 hr  กรณีสั่งใช้ยาในช่วงเวลา 01.00-12.00 น. • บริหารยาเข้ารอบเวลา 06.00 น.ในวันที่มีคำสั่ง  กรณีสั่งใช้ยาในช่วงเวลา 13.00-24.00 น. • บริหารยาเวลา 18.00 น.ในวันที่มีคำสั่ง

  11. การบันทึก administration medication record: MAR / บริหารยาเมื่อครบ 72 ชั่วโมง, x ไม่มีการบริหารยา

  12. แนวทางปฏิบัติของการบริหารยาแนวทางปฏิบัติของการบริหารยา • ยกตัวอย่างคำสั่งบริหารยาทุก 96 ชั่วโมง • Rx 30/9/57 vancomycin 750 mg+NSS 200 mL drip in 2 hr q 96 hr  กรณีสั่งใช้ยาในช่วงเวลา 01.00-12.00 น. • บริหารยาเข้ารอบเวลา 06.00 น.ในวันที่มีคำสั่ง  กรณีสั่งใช้ยาในช่วงเวลา 13.00-24.00 น. • บริหารยาเวลา 18.00 น.ในวันที่มีคำสั่ง

  13. การบันทึก administration medication record: MAR / บริหารยาเมื่อครบ 96 ชั่วโมง, x ไม่มีการบริหารยา

  14. สรุปรอบตารางการบริหารยาสรุปรอบตารางการบริหารยา กรณีสั่งใช้ยาช่วงเวลา 01.00-12.00 น. ( / มีการบริหารยา, x ไม่มีการบริหารยา)

  15. สรุปรอบตารางการบริหารยาสรุปรอบตารางการบริหารยา กรณีสั่งใช้ยาช่วงเวลา 13.00-24.00 น. ( / มีการบริหารยา, x ไม่มีการบริหารยา)

  16. ขอบคุณค่ะ

More Related