1 / 44

วิชา ง31101-ง31102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร) หน่วยที่ 3 ปลูกพืชถูกวิธีมีคุณค่า

วิชา ง31101-ง31102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร) หน่วยที่ 3 ปลูกพืชถูกวิธีมีคุณค่า. ลองคิด ลองตอบ - การปลูกพืชมีส่วนช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างไร

johnson
Download Presentation

วิชา ง31101-ง31102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร) หน่วยที่ 3 ปลูกพืชถูกวิธีมีคุณค่า

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิชา ง31101-ง31102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร) หน่วยที่ 3 ปลูกพืชถูกวิธีมีคุณค่า ลองคิด ลองตอบ - การปลูกพืชมีส่วนช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างไร - นักเรียนมีความรู้และเคยมีประสบการณ์ในการทำการเกษตรแบบยั่งยืนต่อไปนี้มากน้อยเพียงใด เกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรอินทรีย์ เกษตรธรรมชาติ วนเกษตร เกษตรผสมผสาน

  2. วิชา ง31101-ง31102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร) หน่วยที่ 3 ปลูกพืชถูกวิธีมีคุณค่า 3.1 การปลูกพืชเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม (การเกษตรแบบยั่งยืน) 1). เกษตรทฤษฎีใหม่ 2). เกษตรอินทรีย์ 3). เกษตรธรรมชาติ 4). วนเกษตร 5). เกษตรผสมผสาน

  3. วิชา ง31101-ง31102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร) หน่วยที่ 3 ปลูกพืชถูกวิธีมีคุณค่า 3.2 เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช 1). การปลูกพืชโดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ (Biological Technology) 1.1 พืชดัดแปลงพันธุกรรม(GMOs) 1.2 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ(Plant Tissue Culture) 2). การปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรพอนิกส์(Hydroponics) (เอกสารประกอบการเรียนสาระที่ 151- 163) การนำเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชมาใช้มีประโยชน์หรือโทษอย่างไร

  4. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช ความหมายและความสำคัญ การนำความรู้ ทักษะ และทรัพยากรมาสร้างเป็นเครื่องมือ วิธีการ เพื่อแก้ปัญหาหรือช่วยเพิ่มศักยภาพในการทำงานด้านการปลูกพืช เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์

  5. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช ประเภทของเทคโนโลยีพืช เทคโนโลยีที่เป็นวิธีการ เทคโนโลยีที่เป็นเครื่องมือ

  6. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช เทคโนโลยีชีวภาพ การนำสิ่งมีชีวิต มาทำให้เกิดการพัฒนา ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง ซึ่งใช้ความรู้หรือเทคนิควิธีการวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะกระบวนการทางชีววิทยา มาผลิตสิ่งต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์

  7. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช Genetic Modified organism (GMOs) GMOs Process เจริญเติบโตไว มีขนาดใหญ่ แต่ปริมาณสารอาหารน้อย ปริมาณสารอาหารเยอะ เจริญเติบโตช้า ปริมาณสารเยอะเจริญเติบโตไว และมีขนาดใหญ่ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ - ประโยชน์ในการขยายพันธุ์และปรับปรุงพันธ์พืชเพื่อให้ได้พันธุ์พืชใหม่ ที่มีลักษณะทีดี มีความทนทานต่อโรค และแมลงศัตรูพืช ทนแล้ง - ให้ผลผลิตที่สูง และมีคุณค่าทางโภชนาการที่สูง

  8. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช หลักการโดยคร่าว Genetic Modified organism (GMOs) เป็นผู้นำพาส่วนของยีนที่ต้องการ/ยีนที่ปรับปรุงแล้วไปใส่ในต้นพืช ใช้ DNA ซึ่งมียีนที่ต้องการ อาศัย ใส่ยีนที่ต้องการลงไป โดยอาศัยปฏิกิริยาความเข้ากันได้ของเอนไซม์และ DNA ligase ถ่ายแบคทีเรียซึ่งมียีนที่ต้องการเข้าสู่ต้นพืช พืชปรับปรุงสายพันธุ์ใหม่ โครโมโซมพืชมีส่วนของ T DNA ซึ่งบรรจุยีนที่ต้องการอยู่ ส่วนที่จะใส่ยีนที่ต้องการลงไป

  9. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช ประโยชน์ / โทษ Genetic Modified organism (GMOs) โทษ 1. การควบคุมสายพันธุ์ และโอกาสการปนเปื้อนของละอองเรณู (Pollen contamination)ไปสู่สิ่งแวดล้อมความหลากหลายของพืชพันธุ์พื้นเมืองสูญเสียไป ประโยชน์ 1. ได้พันธุ์พืชที่มีคุณสมบัติตรงตามที่ต้องการ Pollen contamination of papaya in Hawaii

  10. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช ประโยชน์ / โทษ Genetic Modified organism (GMOs) ประโยชน์ - โทษ 2. GMOs ในบางกรณีช่วยลดต้นทุนการผลิตด้านสารเคมีบำรุงพันธุ์ แต่มีกรณีโต้แย้งซึ่งไม่ได้ช่วยลดต้นทุนการผลิตพืชเลยแม้แต่น้อย เนื่องจาก “กฎหมายสิทธิบัตรพืช” กรณีพิพาทของ Monsanto และเกษตรกรในเรื่องต้นทุนการผลิต บริษัท Monsanto USA ผู้ผลิตยาฆ่าหญ้า Round-Up และผู้ผลิตเมล็ดถั่วปรับปรุงพันธุ์รายใหญ่ของอเมริกา ขายสายพันธุ์ถั่วให้กับเกษตรกร แต่! เมื่อถั่วเจริญจนติดฝักแล้ว เกษตรกรไม่สามารถที่จะเก็บเมล็ดถั่วไว้ปลูกในรุ่นต่อไปได้ เกษตรกรต้องซื้อเมล็ดพันธุ์จากบริษัทนี้ทุกครั้งที่จะปลูก

  11. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช ประโยชน์ / โทษ Genetic Modified organism (GMOs) กรณีพิพาทของ Monsanto และเกษตรกรในเรื่องต้นทุนการผลิต - ทุนการซื้อเมล็ดพันธุ์บานปลาย? ใครได้ประโยชน์ ใครเสียประโยชน์? • คุณจะไม่ซื้อสายพันธุ์ถั่วจากบริษัท Monsanto ก็ได้ แต่ถั่วที่คุณผลิต/ปลูก ดีเทียบเท่ากับสายพันธุ์ Monsanto หรือไม่? สู้กลไกตลาดได้หรือไม่ • ธุรกิจฟอกเมล็ดพันธุ์ของเกษตรกร หลายรายต้องล้มละลาย • หากเก็บเมล็ดพันธุ์ของ Monsanto ไว้โดยมิชอบบริษัทมีนักกฎหมายที่เก่งกาจพอจะจับคุณขึ้นศาลดำเนินคดีได้

  12. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช ประโยชน์ / โทษ Genetic Modified organism (GMOs) ประโยชน์ - โทษ 3. GMOs ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมในแง่พืชมีความคงทนต่อโรคและแมลงมากขึ้น ลดการใช้สารเคมี แต่…. ในแง่ของการปนเปื้อนไปสู่โลกภายนอก? กรณีพิพาทเกษตรกรของ Monsanto ในแง่สายพันธุ์ หากคุณใช้เมล็ดพันธุ์ปลูกเอง ต้องไม่มีพืชสายพันธุ์ของ Monsanto ในแปลงปลูกของคุณ หากพบพืชสายพันธุ์ของ Monsanto ในแปลงปลูกของคุณ ต้องผ่านการตรวจพิสูจน์ให้ได้ว่าต้องมีการปนเปื้อนที่ต่ำกว่า 50% มากกว่า 50%หรือใกล้เคียง เจอกันในศาล

  13. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช ประโยชน์ / โทษ Genetic Modified organism (GMOs) ประโยชน์ - โทษ 4. ความปลอดภัย แน่ใจหรือไม่ว่า พืชปรับปรุงพันธุ์ที่ได้มา ได้มาจากส่วน T plasmid ซึ่งไร้การปนเปื้อนของสารพันธุกรรมจากแบคทีเรีย ส่วนอันตราย GMOs ดีหรือไม่? แต่ทั้งนี้อย่าลืมว่า ทั้งชีวิตของมนุษย์ คุณโตมาจากอาหาร GMOs ทั้งสิ้น

  14. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช ประโยชน์ / โทษ Genetic Modified organism (GMOs) ประโยชน์ - โทษ 4. ความปลอดภัย แน่ใจหรือไม่ว่า พืชปรับปรุงพันธุ์ที่ได้มา ได้มาจากส่วน T plasmid ซึ่งไร้การปนเปื้อนของสารพันธุกรรมจากแบคทีเรีย ส่วนอันตราย GMOs ดีหรือไม่? แต่ทั้งนี้อย่าลืมว่า ทั้งชีวิตของมนุษย์ คุณโตมาจากอาหาร GMOs ทั้งสิ้น

  15. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช Your choice Organic Food - ปลอดภัยจาก GMOs แต่แพงมาก GMOs FoodEx. ช็อกโกแลตยี่ห้อ Hershey’s - ราคาถูก อาหาร GMOs ต้องมีการ Label เพื่อสิทธิของผู้บริโภค

  16. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue culture) อาศัยหลักการของทฤฎษี Potitotency ที่ว่า เซลล์ทุกเซลล์มีความสามารถในการเจริญเป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ โดยหลักการคือเป็นการนำส่วนต่างๆของพืชที่ยังมีเนื้อเยื่อเจริญ (Meristematic region)เช่น ใบ ตา ยอด โคนกลีบดอก อับละอองเรณู รังไข่ ราก มาเลี้ยงในอาหารวุ้น ณ สภาพปลอดเชื้อ

  17. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช หลักการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue culture) “ความสะอาดคือสิ่งสำคัญ” น้ำต้องผ่านการ autocalve ความสะอาด/ปลอดโรคของชิ้นพืชเป็นสิ่งสำคัญ น้ำกรอง + Clorox เข้มข้นมาก เวลาสั้น(10 นาที) น้ำกรอง + Clorox เข้มข้นต่ำ เวลานาน(15 นาที) น้ำกรอง 3 น้ำ น้ำละ 5 นาที เลือกชิ้นส่วนพืช / เซลล์ที่มีเนื้อเยื่อเจริญ คำนึงถึงขนาดเนื้อเยื่อที่จะใช้ให้มีความเหมาะสม ประกอบด้วย 5 น้ำ ทำการฟอกฆ่าเชื้อที่บริเวณผิว เพื่อฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ ป้องกันการติดเชื้อระหว่างการเพาะเลี้ยง Clorox มี NaOCl ซึ่งฆ่าเชื้อโรคได้

  18. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช หลักการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue culture) Autoclave เครื่อง Autocave – เป็นเครื่องที่ใช้กำจัดจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนเข้าในระหว่างการเตรียมอาหาร การเตรียมน้ำฟอก อุปกรณ์ที่จะใช้ตัดและถ่ายเนื้อเยื่อพืช โดยมีความสามารถทำลายสูงสุดถึงขั้นสปอร์ของแบคทีเรีย ภาวะที่ใช้อบคือ - ความดัน 15ปอนด์/ตารางนิ้ว - อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส - ณ 15 นาที

  19. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช หลักการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue culture) เพาะลงบนอาหารสูตรต่างๆ อาหารวุ้น – สูตร MS อาหารเหลว อาศัย Aseptic technique ในการเพาะลงบนอาหาร

  20. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช หลักการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue culture) ส่วนประกอบของอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 1. กลุ่มสารอนินทรีย์ – ต้องอยู่ในรูปไอออนที่พืชนำไปใช้ได้ แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ - Macronutrients elements สารอาหารที่พืชจำเป็นต้องใช้ในปริมาณมาก (mg/L) - Micronutrients elements สารอาหารที่พืชจำเป็นแต่ใช้ในปริมาณน้อย (ug/L) “สารอาหารทั้งสองกลุ่ม เป็นสารที่พืชขาดไม่ได้” 2. กลุ่มสารอินทรีย์ – ประกอบด้วย วิตามิน(B1 B3 B6) กรดอะมิโน(Glycine) น้ำตาล (Sucrose GlucoseMyo-inositol) ทำไมต้องเติมน้ำตาลลงในอาหารในกรณีที่เพาะเลี้ยงเมล็ดทั้งที่พืชก็มีเอนโดสเปิร์ม? เพราะน้ำตาลช่วยรักษาแรงดันออสโมติกของเซลล์ไว้

  21. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช หลักการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue culture) ส่วนประกอบของอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 3. กลุ่มสารอินทรีย์ที่ระบุสารประกอบได้ไม่หมด เช่น น้ำมะพร้าว มีสารจำพวก Zeatin ช่วยเร่งในการเจริญเติบโตของพวกกล้วยไม้ 4.Plant growth regulators (PGRs)– ฮอร์โมนพืช ช่วยเร่งการเกิดอวัยวะ การเจริญเติบโตและการเกิดแคลลัสของพืชให้ไวมากขึ้น โดยมากใช้ 2 กลุ่มคือ Auxin – 2,4D เร่งแคลลัส , NAA – เร่งเกิดราก Cytokinin – เร่งเกิดยอด ( Hormone พืช ยังมี Giberellin , Abscisic acid , Ethylene และ Brassino steriod)

  22. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช หลักการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue culture) ส่วนประกอบของอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 5. วัสดุยึดเหนี่ยว หรือ ผงวุ้น 6.ผงถ่าน เพื่อดูดสารพิษจำพวก 2nd metabolise ที่ พืชสร้างขึ้นจากการเจริญเติบโต ขั้นตอนการเตรียมStockอาหาร ผสมสารทั้งหมดให้เข้ากันภายในน้ำกลั่น ชั่งสาร Micronutrients elements และ สาร Macronutrients elements, Vitamin, Amino acid น้ำตาล Myo-inositolตามจำนวนที่ต้องการใช้ และปริมาณที่ต้องการใช้ว่าปริมาตรสุดท้ายคือกี่ลิตร ตามชนิดสูตรอาหาร ปรับปริมาตรสุดท้ายให้ได้ตามที่ต้องการ ตักแบ่งเป็นถุง เก็บไว้ในที่เย็นจัด โดยปกติ 100ml ของ stock จะใช้กับอาหาร 1L

  23. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช หลักการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue culture) ขั้นตอนการเตรียมอาหาร กำหนดปริมาณอาหารว่าจะเตรียมกี่ลิตร - เติมน้ำกลั่นลงไปก่อนให้มีปริมาตรครึ่งหนึ่ง ใส่ stock ลงไปจนละลาย สารละลายเข้ากัน สารละลายเข้ากัน เติม hormone ที่ต้องการ ความเข้มข้น/ปริมาตรให้เหมาะสมกับปริมาตรอาหาร เติมน้ำตาล (ปกติ 30g/L) สารละลายเข้ากัน ปรับปริมาตรสุดท้ายได้ตามที่ต้องการ ปรับค่า pH ตามสูตรอาหาร (มีผลต่อการละลายและการตกตะกอนของสาร) วุ้นละลาย เดือดพอประมาณ ตักใส่ภาชะเพาะเลี้ยง นำเข้าเครื่อง Autoclave ต้มให้ความร้อน ใส่ผงวุ้น (ปกติ 7.5g/L)

  24. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช หลักการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue culture) อุปกรณ์ในขั้นตอนการถ่ายเนื้อเยื่อ 1. อุปกรณ์ที่จะใช้เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ได้แก่ มีดผ่าตัด(scapel) คีบหนีบ(forceps)จานแก้ว(petri-dish)ต้องผ่านการ autoclave มาก่อน 2. ตู้ที่ใช้เพาะถ่ายเนื้อเยื่อ (Laminar air flow) – เป็นตู้ที่มีระบบกรองที่เรียกว่า High efficiency particles air-flow (HEPA) ซึ่งสามารถกรองอากาศให้ปลอดเชื้อจุลินทรีย์ได้ระดับหนึ่ง (ความสามารถขีดสุด 0.3 um) เป็นอุปกรณ์สำคัญในขั้นตอนการถ่ายเนื้อเยื่อ *ก่อนและหลังการใช้ตู้ ต้องเช็ดด้วย 70% EtOH ก่อนทุกครั้ง เพื่อความสะอาดของสถานที่ปฏิบัติงาน

  25. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช หลักการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue culture) ขั้นตอนการถ่ายเนื้อเยื่อ นำอุปกรณ์เข้าตู้ได้แก่ คีมหนีบ มีดผ่าตัด จานแก้ว Rackสำหรับวางจากแก้ว ตะเกียงแอลกอฮอล์ ไฟแช็ก ผ้าเช็ดตู้ และ90%EtOH อุปกรณ์ทุกชิ้นก่อนเข้าตู้ ต้องฉีด 70%EtOH ก่อนเพื่อฆ่าเชื้อเบื้องต้น ทำความสะอาดตู้ Larminar air flow เปิด UV ฆ่าเชื้อนาน 15-30 นาที เพื่อทำความสะอาดอุปกรณ์ เปิด blower เพื่อให้ระบบ HEPA ของตู้ทำการกรองอากาศเพื่อเริ่มปฏิบัติงาน ย้ายภาชนะใส่ชิ้นพืช และอาหารที่จะเพาะเลี้ยงเข้าตู้ (ฉีดแอลกอฮอล์ก่อนเข้าตู้เสมอ) ผู้ทำการเพาะเลี้ยงทำความสะอาดแขนและมือ ด้วยการฉีดแอลกอฮล์ก่อนเข้าตู้ *หากเผลอเอามือออกนอกตู้ ฉีดแอลกอฮอล์ใหม่ ทำการถ่ายเนื้อเยื่อลงอาหาร

  26. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช หลักการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue culture) ขั้นตอนการถ่ายเนื้อเยื่อ

  27. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช หลักการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue culture) ขั้นตอนการถ่ายเนื้อเยื่อ • ข้อควรปฏิบัติ • ก่อนการใช้มีดผ่าตัด และคีมหนีบเพื่อจับชิ้นพืช ต้องจุ่ม 90%EtOH และเผาไฟก่อน เพื่อฆ่าเชื้อก่อนหยิบจับชิ้นพืชทุกครั้ง • หลังจากหยิบจับชิ้นพืชแล้ว ทำเช่นเดียวกัน • ก่อนเปิดภาชนะบรรจุอาหาร ต้องลนไฟ เพื่อฆ่าเชื้อก่อน และหลังย้ายชิ้นพืชลงอาหารแล้ว ก่อนปิดภาชนะ ก็ทำการลนไฟฆ่าเชื้อด้วย

  28. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช หลักการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue culture) ขั้นตอนการเลี้ยงเนื้อเยื่อ อาหารวุ้น เพื่อให้เกิดเป็นพืชต้นใหม่ อาหารเหลว ต้องเขย่าตลอดเวลาเพื่อไม่ให้พืชจมน้ำและช่วยแลกเปลี่ยนสาร เลี้ยงเพื่อให้เกิด callus จำนวนมากๆ เลี้ยงภายใต้สภาวะ - อุณหภูมิ 25 +,- 2 องศาเซลเซียส - ความเข้มแสงที่เหมาะสม - สถานที่สะอาดปลอดเชื้อ

  29. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช หลักการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue culture) ตัวอย่างการเลี้ยงเนื้อเยื่อที่ล้มเหลว Contaminate By Bacteria เพราะชิ้นพืชสกปรก Contaminate By Fungi เพราะไม่สะอาดพอ

  30. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช หลักการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue culture) เกิดผ่าน callus (Indirect organogenesis) เมื่อเพาะเลี้ยงระยะหนึ่งต้นพืชจะเจริญเติบโต เกิดอวัยวะเป็นต้นใหม่ เรียกว่า Organogenesis พืชต้นใหม่ เกิดผ่านชิ้นพืชโดยตรง (Direct organogenesis)

  31. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช หลักการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue culture) Callus – กลุ่มเซลล์ parenchyma ที่ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่และรูปร่างอย่างชัดเจนว่าจะเป็นเซลล์ที่ทำหน้าที่อะไร การจะเกิด Callus ขึ้นกับชิ้นพืชที่ใช้ และ PGRs พืชต้นใหม่ Callus

  32. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช หลักการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue culture) อนุบาลก่อนนำออกปลูก โดยปลูกในวัสดุปลูก เวอร์มิคูไลท์ ซึ่งจะทำให้ระบบรากมีความแข็งแรงขึ้น ค่อยๆปรับสภาพพืชให้ปลูกลงในสภาพแวดล้อมจริงได้ แช่ในยากันรา ยากันแบคทีเรีย

  33. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช ประโยชน์ - โทษของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue culture) โทษ 1. การเพาะเลี้ยงไปเวลานานหลายรุ่นอาจเกิดการกลายพันธุ์ได้ 2. ใช้เวลานานในการผลิตสายพันธุ์บริสุทธิ์ และการปรับสภาพจากในห้องทดลองก่อนนำไปปลูกจริง 3.ความรู้ ความสามารถ ความชำนาญของผู้ทำการเพาะเลี้ยง ประโยชน์ 1. ได้ต้นพันธุ์ที่เหมือนแม่ทุกประการ (clone) 2. ควบคุมสภาพแวดล้อมที่ใช้เพาะเลี้ยงและปริมาณผลผลิตได้ 3. ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืชให้ได้พันธุ์บริสุทธิ์และปลอดโรค 4. ประยุกต์ใช้สำหรับการอนุรักษ์พันธุ์พืชได้

  34. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน (Hydroponics) Water culture เทคนิคการให้อากาศ ฉีดพ่นราก FNT Substrate culture ทราย กรวด ดินเผา ขี้เถ้า แกลบ ขุยมะพร้าว

  35. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช สิ่งที่จำเป็นในการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน (Hydroponics) 1. โรงเรือน > ต้องควบคุมสภาพแวดล้อมได้ทั้งหมด 2. ระบบการจ่ายสารละลาย 3. วัสดุรองรับ เช่น แผ่นโฟม วัสดุปลูกพืช เช่น ตะกร้า โฟมที่เจาะเป็นรู 4. รางปลูก 5. pH meter และสารละลายปรับค่า pH 6. EC meter สำหรับวัดค่าการนำไฟฟ้าและความเข้มข้นของสารละลายพืช 7. ปั๊มออกซิเจน

  36. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน (Hydroponics) ภาพรวมโดยทั่วไปของ Hydroponics- รูปแบบโรงเรือน

  37. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน (Hydroponics) ภาพรวมโดยทั่วไปของ Hydroponics - รูปแบบกระบะปลูก แผ่นโฟมพยุง สารละลายที่มีอาหารผสมอยู่ ตัวปั้มอากาศ

  38. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน (Hydroponics) ภาพรวมโดยทั่วไปของ Hydroponics- ระบบการไหลเวียนสารละลาย ถังใส่สารละลาย ก่อนถ่ายเทสารเข้าสู่แปลง ท่อถ่ายเทสาร ดูดสารเข้า-ออก

  39. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน (Hydroponics) ส่วนประกอบของอาหาร - กลุ่มสารอนินทรีย์ – ต้องอยู่ในรูปไอออนที่พืชนำไปใช้ได้ แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ Macronutrients elements (N P K Ca Mg S) Micronutrients elements (B Zn Cu Mn Mo Cl) - พวก Chelate ion (Fe) ขั้นตอนการเตรียมอาหารมี 2 stock คือ Stock A, Stock B Stock A – จะเน้นไปที่ N P K micronutrients elements (ถังสารละลายความเข้มข้นสูง) Stock B – จะเน้นไปที่ chelate ion และCa (ถังสารละลายความเข้มข้นต่ำ) คำนึงถึงปริมาณจะใช้ ความสะอาดในการเตรียม ความสามรถของระบบจ่าย และชนิดพืช

  40. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน (Hydroponics) เตรียมเสร็จ เก็บไว้ในที่แสงแดดส่องไม่ถึง เพื่อป้องกันการเสื่อมของสารละลาย และการนำไปใช้ต้องคำนึงถึงความเข้มข้นของสารละลายด้วย การเตรียมอาหาร Stock A ชั่งสารทุกชนิดให้ได้ตามจำนวนที่ต้องการใช้ และปริมาณที่ต้องการใช้ว่าปริมาตรสุดท้ายคือกี่ลิตร ตามชนิดสูตรอาหาร เติมน้ำกลั่นลงไปก่อนให้มีปริมาตรครึ่งหนึ่ง เติม N P K จุลธาตุทั้งหมดยกเว้นchelate ion ปรับปริมาตร Stock B วัดค่า pH ให้ได้เท่ากับ 2 บันทึกค่า EC เติมน้ำกลั่นลงไปก่อนให้มีปริมาตรครึ่งหนึ่ง เติมจุลธาตุที่เหลือ เติมปุ๋ยที่มี Caเป็นองค์ประกอบทั้งหมด และ chelate ion ปรับปริมาตร วัดค่า pH ให้ได้เท่ากับ 4-6 บันทึกค่า EC

  41. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน (Hydroponics) ค่า pH มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช และสภาพความเป็นไอออนของธาตุอาหารในสารละลาย แตกต่างไปตามสูตรอาหารและชนิดพืช (ปกติคือ 5.5-6.5) - ลดด้วย กรดไนตริก - เพิ่มด้วย เบสโซเดียมไฮดรอกไซด์ ค่า EC ค่าการนำไฟฟ้าจะบ่งบอกถึงความเข้มข้นของสารละลายธาตุอาหารพืช ซึ่งแสดงเป็น mMho/cm หรือ mS/cm โดย 1mMho/cm = 1 mS/cm =650 ppm. โดยค่า EC ที่เหมาะสมควรอยู่ที่ 1.5-3.0mS/cm (1,00-1,500 ppm.) ค่า pH และ EC มีการเปลี่ยนแปลงทุกวัน ต้องตรวจดูอย่างสม่ำเสมอ

  42. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช วิธีการโดยคร่าวการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน (Hydroponics) ตัดฟองน้ำเป็นรู แช่น้ำให้เปียดหมาดๆ แล้วทำการเพาะเมล็ดพืชบน โรงเรือนพร้อม สารละลายพร้อม ระบบจ่ายสารละลายพร้อม ถ่ายสารละลายทั้ง Stock A + Stock B ลงกระบะปลูก ในปริมาตรที่คำนวณไว้ ปั๊มออกซิเจนพร้อม เมล็ดงอกเป็นต้นกล้า ทำการย้ายต้นกล้า (ทั้งที่มีฟองน้ำติดอยู่) ปลูกลงในรูของวัสดุลอยน้ำ เจาะโฟมให้เป็นรู เพื่อเป็นวัสดุลอยน้ำสำหรับปลูกต้นกล้า หมั่นตรวจเช็คค่า EC pH และ เชื้อโรคอยู่สม่ำเสมอ

  43. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช วิธีการโดยคร่าวการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน (Hydroponics)

  44. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืชเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปลูกพืช ประโยชน์ - โทษของการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน (Hydroponics) โทษ 1. ต้นทุนสูงมาก 2. ความรู้ ความเข้าใจ ความชำนาญ และประสบการณ์ 3. ความสามารถในการบริหารจัดการ 4. ไม่สามารถใช้ปุ๋ยบางชนิดได้ ทำให้พืชสูญเสียธาตุอาหารบางชนิดจากการดำเนินกิจกรรมของจุลินทรีย์ที่อาศัยอยู่ร่วมกับพืชแบบ symbiosis ประโยชน์ 1. ปลูกพืชในสภาพที่ไม่เหมาะแก่การเพาะปลูกได้ ควบคุมสภาพแวดล้อมในการปลูกได้ 2. ใช้น้ำและปุ๋ยน้อยกว่าการปลูกพืชแบบใช้ดิน 3. ปลูกพืชนอกฤดูกาลได้ ควบคุมพื้นที่ และจำนวนต้นได้ 4. ควบคุมและลดปริมาณการใช้สารกำจัดศัตรูพืชได้

More Related