390 likes | 611 Views
National Center of Excellence in Otolaryngology. โรงพยาบาลราชวิถี นายแพทย์สุรวิทย์ เตชธุวาน้นท์. Excellent Center. การประเมินศักยภาพ. Super Tertiary Center. ด้านบุคลากร. แพทย์ผู้เชียวชาญเฉพาะทาง จำนวน 11 คน พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 21 คน นักโสตสัมผัส จำนวน 1 คน นักแก้ไขการพูด จำนวน 1 คน.
E N D
National Center of Excellencein Otolaryngology. โรงพยาบาลราชวิถี นายแพทย์สุรวิทย์ เตชธุวาน้นท์
Super Tertiary Center.ด้านบุคลากร • แพทย์ผู้เชียวชาญเฉพาะทาง จำนวน 11 คน • พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 21 คน • นักโสตสัมผัส จำนวน 1 คน • นักแก้ไขการพูด จำนวน 1 คน
Super Tertiary Center.ด้านสถานที่ • OPD จำนวนห้องตรวจ 7 ห้อง • หอผู้ป่วย จำนวน 31 เตียง • ห้องผ่าตัดใหญ่ จำนวน 2 ห้อง • ห้องผ่าตัดเล็ก จำนวน 1 ห้อง
ให้บริการตรวจรักษาโรคหูแก่ประเทศเพื่อนบ้าน ปี 2538-2546.
Research and Development center. • วิจัยและป้องกันหูหนวกหูตึงในประเทศไทย (องค์การอนามัยโลกและยูนิเซฟ) • วิจัยเนื้องอกในกล่องเสียงเด็ก (มหาวิทยาลัยญี่ปุ่น) • วิจัยเรื่องผลการทำงานของหน่วยแพทย์เคลื่อนที่และการให้ความรู้แก่บุคลากรของสาธารณสุขในชนบท (มูลนิธิหู คอ จมูกและประเทศเยอรมัน)
Training Center. • Residency Training Program. • รุ่นแรกปีพ.ศ. 2524 ถึงปัจจุบัน รุ่นที่ 24 จำนวนที่ผลิตได้ 73 คน
Training Center. • แพทย์สถาบันต่างๆ ดูงานด้านผ่าตัดมะเร็งศีรษะและคอ เช่น • โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ • โรงพยาบาลรามาธิบดี • โรงพยาบาลศิริราช • โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ • โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ • โรงพยาบาลศรนครินทร์ • โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า • โรงพยาบาลภูมิพล • คณะทันตแพทย์จุฬาลงกรณ์ / คณะทันตแพทย์มหิดล
Training Center. อบรมแพทย์ พยาบาลจากประเทศเพื่อนบ้าน 2538-2546
Training Center. • Annual Asian Course in Temporal bone/ Ear surgery. รุ่นที่ 13 • Annual Head and Neck surgery/ Oncology Course. รุ่นที่ 3 • Basic and Advance Course in Rigid Fixation in Maxillofacial Region.
Reference Center. • เป็นศูนย์ประสานแลกเปลี่ยนความรู้ • จัดทำรายงานทางระบาดวิทยาของโรคทางด้านโสต ศอ นาสิก • รวบรวมผลงานวิจัยและรายงานสถิติของระดับประเทศ
ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์แห่งประเทศไทย (Royal College of Otolaryngologists of Thailand) โรงพยาบาลกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์ ร่วมมือกับ National Body and Policy Advocacy. เพื่อ • กำหนดหลักสูตรการศึกษาอบรมหลักสูตรระยะยาว/ สั้น • กำหนดรูปแบบการรักษา ควบคุม และป้องกันโรคเป็นแนวทางเดียวกัน • ฯลฯ
Referal Center. • ปรับรูปแบบเป็น one stop system
Networking. • เป็นจุดสุดท้ายในการรักษาของเครือข่ายบริการสาธารณสุขทั่วประเทศ • สนับสนุนทางวิชาการแก่สถานพยาบาลทั้งในและต่างประเทศ • จัดบริการหน่วยแพทย์เคลื่อนที่และให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขท้องถิ่น
การประเมินสถานการณ์ปัจจุบันการประเมินสถานการณ์ปัจจุบัน
แผนภูมิพัฒนาสู่ความเป็นเลิศแผนภูมิพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ
Short-term goal (2550) • Basic Infrastructure. • OPD ให้ทันสมัยและครบวงจรเช่น • หน่วย Oto-Neurology, • หน่วย Audiology, • หน่วย Speech Therapy and Swallowing Clinic, • ห้อง Counselling.
Short-term goal (2550) • Basic Infrastructure. • Sub-ICU จำนวน 5 เตียง • ปรับปรุงหอผู้ป่วย • เครื่องมืออุปกรณ์
Short term goal (2550) • จัดตั้ง 3 ศูนย์ • ศูนย์ประสาทหูเทียม • ศูนย์ฝึกอบรมการผ่าตัดหูของประเทศไทยและภูมิภาค • ศูนย์ฝึกอบรมการผ่าตัดมะเร็งศีรษะและคอของประเทศไทยและภูมิภาค
Intermediate goal (2552) • พัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ จัดหาเพิ่ม/ ใหม่ • แพทย์เฉพาะทาง 10 คน เพิ่ม • พยาบาลวิชาชีพ 49 คน เพิ่ม • นักระบาดวิทยา 1 คน ใหม่ • นักสถิติ 1 คน ใหม่ • ผู้ช่วยนักวิจัย 1 คน ใหม่ • นักโสตสัมผัส 1 คน ใหม่ • นักแก้ไขการพูด 1 คน ใหม่
Intermediate goal (2552) • พัฒนาการวิจัยโดย • ร่วมมือกับกลุ่มวิจัยที่เป็นทียอมรับระดับนานาชาติ เพื่อทำวิจัยที่ทันสมัย • จัดหาแหล่งเงินเพื่อสนับสนุนการวิจัยเพื่อการพัฒนา • ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับโรคทางหู คอ จมูก เพื่อวิเคราะห์และวางแผนในการควบคุมโรคของประชาชน • ศึกษาวิจัยหาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการรักษาและป้องกันโรคทางหู คอ จมูก
Intermediate goal (2552) • พัฒนางานถ่ายทอดเทคโนโลยีขั้นสูง
จัดประชุมวิชาการประจำปีจัดประชุมวิชาการประจำปี
Intermediate goal (2552) • จัดตั้งสถาบันฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางการผ่าตัดมะเร็งศีรษะและคอ
Long-term goal (2557) • จัดตั้ง 4 ศูนย์ • ศูนย์การทดสอบสมรรถภาพการทรงตัว • ศูนย์การทดสอบการได้ยิน • ศูนย์ฟื้นฟูการทรงตัว • Professional Voice Center.
กลยุทธ์เพื่อให้บรรลุผลกลยุทธ์เพื่อให้บรรลุผล
วิธีการในการจัดสรร ทรัพยากร • บุคลากร • งบประมาณ • วัสดุอุปกรณ์ • สถานที่
ข้อเสนอเพื่อบรรลุผล • ความชัดเจนของการกำหนดงบประมาณของ Center of Excellence.
2. ปรับปรุง แก้ไขระเบียบข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้เอื้อต่อการเกิดCenter of Excellence. เช่น - เงินนอกงบประมาณในการพัฒนาบุคลากรสามารถใช้เพื่อศึกษาอบรมดูงานยังต่างประเทศได้ - งบประมาณในการทำวิจัยควรเป็นpackage.- การพัฒนาเกณฑ์ผลตอบแทนตามศักยภาพ เช่น เพื่อให้มีการพัฒนาการถ่ายทอดองค์ความรู้ควรเป็นแนวทางเดียวกับโรงเรียนแพทย์
3. เพื่อพัฒนาเป็นโรงพยาบาลของกรมการแพทย์ที่มุ่งเน้นวิชาการและพันธกิจหลักในการดูแลผู้ป่วยในระดับตติยภูมิ ดังนั้นการให้บริการผู้ป่วยระดับปฐมภูมิจะมีเท่าที่จำเป็นเพื่อสนับสนุนการวิจัยและถ่ายทอดองค์ความรู้
4. การรวมกลุ่มกับโรงพยาบาลต่างๆ และสถาบันผลิตแพทย์เพื่อ share resources.