530 likes | 731 Views
สาระสำคัญของหนังสือเวียน ว 10/2548 การประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ (ตำแหน่งประเภททั่วไป)และตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะตำแหน่งระดับ 8 ลงมา. YOUR LOGO. โดย คุณอัญชลี สงวนพงศ์ ที่ปรึกษาด้านทรัพยากรบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล.
E N D
สาระสำคัญของหนังสือเวียน ว 10/2548 การประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ (ตำแหน่งประเภททั่วไป)และตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะตำแหน่งระดับ 8 ลงมา YOUR LOGO โดย คุณอัญชลี สงวนพงศ์ ที่ปรึกษาด้านทรัพยากรบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล
สาระสำคัญของหนังสือเวียน สาระสำคัญของหนังสือเวียน สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
ขั้นตอนการคัดเลือกบุคคลที่จะเข้ารับการประเมินผลงานเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำหรับผู้ปฏิบัติงานขั้นตอนการคัดเลือกบุคคลที่จะเข้ารับการประเมินผลงานเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำหรับผู้ปฏิบัติงาน กรณีการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเลื่อนไหลและมีคนครองอยู่ ผู้มีอำนาจ ม.57 กจ. สำรวจข้อมูล/ ผบ.ประเมิน - คุณลักษณะ/ แจ้งผู้มีคุณสมบัติ ส่งเอกสาร เสนอผู้มีอำนาจ ม. 57 ดำเนินการ ตาม ว 5/2542 พิจารณา แจ้งข้าราชการทราบ/ ปิดประกาศ คกก.คัดเลือกสาขาที่เกี่ยวข้อง มีคนท้วง ตรวจสอบ โดยเร็ว มีมูล ส่งผลงาน ไม่มีมูล เสนอผู้มีอำนาจตาม ม.57สอบผู้ทักท้วง สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
กรณีการแต่งตั้งให้ดำรง ตำแหน่งว่าง กจ. สำรวจข้อมูล/ ผบ.ประเมิน - คุณลักษณะ/ แจ้งผู้มีคุณสมบัติ ตรวจสอบ โดยเร็ว อ.ก.พ.กรม / คกก. คัดเลือก มีมูล พิจารณาคัดเลือก เสนอผู้มีอำนาจ ม.57 เห็นชอบ เสนอผู้มีอำนาจ ม. 57 ดำเนินการ ตาม ว 5/2542 อนุมัติ มีคนท้วง แจ้งข้าราชการทราบ/ประกาศชื่อผู้ได้รับ การคัดเลือก/ ชื่อผลงาน ส่งผลงาน ไม่มีมูล เสนอผู้มีอำนาจตาม ม.57สอบผู้ทักท้วง สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
การนำเสนอผลงานเพื่อขอประเมิน กำหนดให้ผู้ขอประเมินเสนอผลงานที่จะขอประเมิน ดังนี้ 1. ผลงานที่เป็นผลการดำเนินงานที่ผ่านมา • ผลงานที่ผ่านมาเป็นผลสำเร็จของงาน ให้นำเสนอในรูปแบบการสรุปวิเคราะห์ถึงผลที่เกิดขึ้น ระบุผลสำเร็จของงาน ประโยชน์ที่เกิดจากผลงานนั้น หรือการนำผลงานไปใช้เพื่อแก้ไขปัญหางาน ใช้เสริมยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน มิใช่เป็นเพียงการรวบรวมผลงานย้อนหลัง (ตัวอย่างรูปแบบการนำเสนอตามตัวอย่างที่ 1) สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
ตัวอย่างที่ 1 ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา 1. ชื่อผลงาน .…………............……...…......… 2. ระยะเวลาดำเนินการ ………….……………........ 3. ความรู้ทางวิชาการหรือแนวความคิดที่ใช้ในการดำเนินการ….. 4. สรุปสาระและขั้นตอนการดำเนินการ…………………. 5. ผู้ร่วมดำเนินการ (ถ้ามี)…………(สัดส่วน)….……... 6. ส่วนของงานที่ผู้เสนอเป็นผู้ปฏิบัติ………………….... 7. ผลสำเร็จของงาน (เชิงปริมาณ/คุณภาพ)…………....… 8. การนำไปใช้ประโยชน์…………………………...… ต่อ
9. ความยุ่งยากในการดำเนินการ/ปัญหา/อุปสรรค………………..… 10. ข้อเสนอแนะ…………………………………………… ขอรับรองว่าผลงานดังกล่าวข้างต้นเป็นความจริงทุกประการ ลงชื่อ …………………………… (……………………………) ผู้เสนอผลงาน ……../……….…/……….. ต่อ
ขอรับรองว่าสัดส่วนหรือลักษณะงานในการดำเนินการของผู้เสนอข้างต้นถูกต้องตรงกับความเป็นจริงทุกประการ ลงชื่อ ……………… ลงชื่อ ……….…… (.……………) (.................) ผู้ร่วมดำเนินการ ผู้ร่วมดำเนินการ …../….…/……....../......./....... ได้ตรวจสอบแล้วขอรับรองว่าผลงานดังกล่าวข้างต้นถูกต้องตรงกับ ความเป็นจริงทุกประการ ลงชื่อ ..................... ลงชื่อ ………….... (.....................) (………………) ตำแหน่ง ................... ผู้อำนวยการสำนัก/กอง…… ...../......../........…../.......…/….. ผบ.ที่ควบคุมดูแลการดำเนินการ ต่อ
2 ข้อเสนอแนวคิด/วิธีการเพื่อพัฒนางานหรือ ปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ข้อเสนอแนวคิด วิธีการ เพื่อพัฒนางานหรือปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ควรเป็นแนวคิด วิสัยทัศน์ หรือแผนงานที่จะทำในอนาคตเพื่อพัฒนางานในตำแหน่งที่จะได้รับการแต่งตั้งและสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน รวมทั้งควรเป็นแนวคิดที่สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
ตัวอย่างที่ 2 ข้อเสนอแนวความคิด/วิธีการเพื่อพัฒนางาน/ปรับปรุงงานให้ ประสิทธิภาพมากขึ้น ของ ………………………………...........…… เพื่อประกอบการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ………..… ตำแหน่งเลขที่ ….. สำนัก/กอง ………………………… เรื่อง ………….............................……………......... หลักการและเหตุผล …………………………........… บทวิเคราะห์/แนวความคิด/ข้อเสนอ ….………....…...... ผลที่คาดว่าจะได้รับ …………………………….…… ตัวชี้วัดความสำเร็จ …………………………........... ลงชื่อ ........................... (..........................) ผู้เสนอแนวคิด ...../........../......
สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
การย้าย / โอน / บรรจุกลับ • 1. อ.ก.พ.กรม/คกก.คัดเลือกกำหนดวิธีการคัดเลือกบุคคล • ตามความเหมาะสม • 2. ผู้ที่ไม่เคยดำรงตำแหน่ง ว/วช. เมื่อผ่านการคัดเลือกแล้ว • ให้ส่งผลงานประเมิน • 3. ผู้ที่ดำรงตำแหน่ง/เคยดำรงตำแหน่ง ว/วช. ในระดับ • เดียวกัน และจัดอยู่ในกลุ่มตำแหน่งเดียวกันกับตำแหน่ง • ที่จะแต่งตั้ง เมื่อผ่านการคัดเลือกแล้ว ให้แต่งตั้งได้ • โดยไม่ต้องประเมินผลงาน • กรณีนอกเหนือจากข้อ 2 และ 3 ให้ อ.ก.พ.กรม/คกก.คัดเลือก • เป็นผู้พิจารณาคัดเลือกและประเมินบุคคล อาจไม่ต้องจัดทำ • ผลงานใหม่ หรืออาจสั่งให้ส่งผลงานเพื่อประเมินก็ได้ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
คุณสมบัติของบุคคลที่จะได้รับแต่งตั้ง • เป็นผู้ผ่านการประเมินบุคคล • มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง • มีคุณสมบัติในเรื่องเกี่ยวกับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ • ของสายงานต่างๆ และ/หรือ คุณวุฒิเพิ่มเติมครบถ้วน ตามที่ ก.พ. กำหนด สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
มีระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรง • ตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิของบุคคล • และระดับตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง ดังนี้ ระดับ ชำนาญการ รับเงินปจต. ชำนาญการ พิเศษ คุณวุฒิ ปริญญาตรี 6 ปี 7 ปี 8 ปี ปริญญาโท 4 ปี 5 ปี 6 ปี ปริญญาเอก 2 ปี 3 ปี 4 ปี สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคลหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคล เพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชำนาญการพิเศษลงมา ตามประกาศ อ.ก.พ. กรมชลประทาน ลงวันที่ 1 ตุลาคม 2556 สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคลหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคล เพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชำนาญการพิเศษลงมา สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
1. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคล • เพื่อเลื่อนและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง • ประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ • ระดับชำนาญการพิเศษ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
หลักเกณฑ์เกี่ยวกับ คุณสมบัติของผู้ขอรับการคัดเลือก ผู้ขอรับการคัดเลือกจะต้องมีคุณสมบัติ 3 ด้าน ดังนี้ • ด้านคุณสมบัติของบุคคล • ด้านคุณลักษณะของบุคคล • ด้านผลงาน สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
ด้านคุณสมบัติของบุคคลด้านคุณสมบัติของบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
ด้านคุณสมบัติของบุคคลด้านคุณสมบัติของบุคคล • 1. วุฒิการศึกษา ต้องตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง หรือได้รับการยกเว้นจาก ก.พ. • 2. ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง ตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ให้ดำรงตำแหน่งในระดับก่อนหน้ามาไม่ต่ำกว่า...ดังนี้ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
ด้านคุณสมบัติของบุคคล (ต่อ) • 3. ระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิและระดับตำแหน่ง ดังนี้ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
ด้านคุณสมบัติของบุคคล (ต่อ) • 3. ระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิและระดับตำแหน่ง ดังนี้ (ต่อ) ทั้งนี้ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
ด้านคุณสมบัติของบุคคล (ต่อ) • 3. ระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิและระดับตำแหน่ง ดังนี้ (ต่อ) ทั้งนี้ • นำระยะเวลาการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานอื่นซึ่งมีลักษณะงานเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้องหรือเกื้อกูลกับสายงานที่จะแต่งตั้ง หรือระยะเวลาการปฏิบัติหน้าที่ในสายงานที่จะแต่งตั้งมานับรวม 2) ถ้าไม่ครบ 1 ปี นับเฉพาะ ประเภทวิชาการ • “ขณะนำเวลาดังกล่าวมานับ ผู้นั้นต้องมีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง และข้อกำหนดอื่นที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง” สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
ด้านคุณสมบัติของบุคคล (ต่อ) • 3. ระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิและระดับตำแหน่ง ดังนี้ (ต่อ) ทั้งนี้ 3) การพิจารณานำระยะเวลาการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานอื่นซึ่งมีลักษณะงานเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้องหรือเกื้อกูลมานับรวมเป็นระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง ให้พิจารณา ระยะเวลาที่ได้ปฏิบัติงานในช่วงที่มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะของตำแหน่ง ข้อกำหนดอื่นที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง โดยให้พิจารณาตามลักษณะงานที่ปฏิบัติงานจริง และประโยชน์ที่ราชการจะได้รับ ให้นับเป็นระยะเวลาขั้นต่ำได้ตามข้อเท็จจริง สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
ด้านคุณสมบัติของบุคคล (ต่อ) • 3. ระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิและระดับตำแหน่ง ดังนี้ (ต่อ) ทั้งนี้ 3) การพิจารณานำระยะเวลาการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานอื่นซึ่งมีลักษณะงานเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้องหรือเกื้อกูลมานับรวมเป็นระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง (ต่อ) การนับระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของสายงานตำแหน่งประเภททั่วไป หรือ สายงานที่เทียบเท่า กรณีเป็นข้าราชตามกฎหมายอื่น เว้นแต่ ให้นับได้ไม่เกินครึ่งหนึ่งของระยะเวลาการปฏิบัติงานที่นำมานับ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
ด้านคุณสมบัติของบุคคล (ต่อ) • 3. ระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิและระดับตำแหน่ง ดังนี้ (ต่อ) ทั้งนี้ 4) กรณีการนับระยะเวลาปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง ต้องมี คำสั่งรักษาราชการแทน/ รักษาราชการในตำแหน่ง คำสั่งมอบหมาย ให้ปฏิบัติหน้าที่ หรือ ต้องมีการปฏิบัติงานจริง สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
ด้านคุณสมบัติของบุคคล (ต่อ) • 3. ระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิและระดับตำแหน่ง ดังนี้ (ต่อ) ทั้งนี้ 5)การพิจารณานับระยะเวลาขั้นต่ำให้คณะกรรมการคัดเลือกเป็นผู้พิจารณาตามแนวทาง ดังนี้ 5.1) การนับระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งประเภทวิชาการ หรือเป็นข้าราชการตามกฎหมายอื่น ซึ่งมีลักษณะงานเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้องหรือเกื้อกูลกับสายงานที่จะแต่งตั้ง นับได้เต็มเวลา กลุ่มตำแหน่งเดียวกัน เหมือนหรือคล้ายคลึงมากกว่าครึ่ง ลักษณะงาน ที่ปฏิบัติจริง ไม่อยู่ในกลุ่มตำแหน่งเดียวกัน นับได้ ไม่เกินครึ่งหนึ่ง เหมือนหรือคล้ายคลึงไม่เกินครึ่ง สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
ด้านคุณสมบัติของบุคคล (ต่อ) • 3. ระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิและระดับตำแหน่ง ดังนี้ (ต่อ) ทั้งนี้ 5)การพิจารณานับระยะเวลาขั้นต่ำให้คณะกรรมการคัดเลือกเป็นผู้พิจารณาตามแนวทาง ดังนี้ 5.2) การนับระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป หรือที่เทียบเท่ากรณีเป็นข้าราชการตามกฎหมายอื่น มานับรวมเป็นระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งที่เกี่ยวข้องหรือเกื้อกูลกับการดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง ให้พิจารณานับระยะที่ได้ปฏิบัติงานในช่วงที่ผู้นั้นมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง และข้อกำหนดอื่นที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง ให้นับได้ไม่เกินครึ่งหนึ่งของระยะเวลาที่นำมานับ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
ด้านคุณลักษณะบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
ด้านคุณลักษณะบุคคล คะแนนรวม 100 คะแนน ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 ผู้บังคับบัญชาที่ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของผู้คัดเลือกโดยตรง ประเมิน ผอ./ผส. สำนัก/กอง เห็นสอดคล้อง ผ่าน สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
ด้านผลงาน สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
ด้านผลงาน ต้องเสนอผลงานดังนี้ ผลการปฏิบัติงานย้อนหลัง 3 ปี ไม่เกิน 3 เรื่อง (ขึ้นกับคุณภาพผลงาน) ชื่อผลงานที่จะส่งประเมิน พร้อมเค้าโครง แนวคิดที่จะพัฒนางานในตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง 1 เรื่อง ข้อเสนอแนวคิด วิธีการเพื่อพัฒนาปรับปรุงงาน สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
หลักเกณฑ์เกี่ยวกับ คุณสมบัติของ ผู้ขอรับการประเมินผลงาน • เป็นผู้ได้รับการคัดเลือกเพื่อประเมินผลงาน • มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง หรือได้รับการยกเว้นจากก.พ.แล้ว • มีคุณสมบัติในเรื่องเกี่ยวกับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในสายงานต่างๆ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนและหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนและ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการและระดับชำนาญการพิเศษ ผลงานที่จะส่งประเมิน • ผลงานหรือผลสำเร็จของงานที่เกิดจากการปฏิบัติงาน ใช้รูปแบบการเสนอผลงานตามที่ ก.พ.กำหนด • ข้อเสนอแนวคิด วิธีการเพื่อพัฒนางานหรือปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นในตำแหน่งที่จะได้รับการแต่งตั้ง • “ผลงานที่ใช้เป็นผลงานที่เกิดขึ้นในระหว่างดำรงตำแหน่งในระดับที่ต่ำกว่าระดับที่ขอประเมินไม่เกิน 1 ระดับ” จัดทำเป็นรูปเล่ม สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนและหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนและ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการและระดับชำนาญการพิเศษ (ต่อ) ระยะเวลาย้อนหลังของผลงาน ไม่เกิน 5 ปี จำนวนของผลงานที่จะส่งประเมิน ไม่เกิน 3 เรื่อง (ขึ้นกับคุณภาพ) กรณีเป็นผลงานร่วมกันหลายคน ให้ระบุสัดส่วนว่าตนเองใช้ความรู้ความสามารถอย่างไร โดยให้เขียนเป็นร้อยแก้ว และระบุสัดส่วนเป็นร้อยละ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนและหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนและ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการและระดับชำนาญการพิเศษ (ต่อ) การเผยแพร่ผลงาน ใช้หลักเกณฑ์ของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแต่ละสาขา ยกเว้นวิศวกรรมศาสตร์2(ด้านเครื่องกลและไฟฟ้า) วิธีการประเมินผลงาน พิจารณาเฉพาะผลงาน ให้ผู้ขอรับการประเมินมานำเสนอให้คกก. เกณฑ์การตัดสินคุณภาพของผลงาน ใช้หลักเกณฑ์ของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแต่ละสาขา ยกเว้นวิศวกรรมศาสตร์2(ด้านเครื่องกลและไฟฟ้า) สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
2. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคล • เพื่อย้าย โอน หรือ บรรจุกลับให้ดำรงตำแหน่ง • ประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ • ระดับชำนาญการพิเศษ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
หลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณสมบัติของหลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณสมบัติของ ผู้ขอรับการประเมินผลงาน • มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง • ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (ถ้ากำหนดไว้) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแต่ละสาขา หรือได้รับการยกเว้นจากก.พ. • ดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งใน สายงานประเภทวิชาการ ผู้ขอรับการคัดเลือกจะต้องมีคุณสมบัติครบถ้วน หรือได้รับการยกเว้นหรือลดหย่อนคุณสมบัติจาก ก.พ. ก่อนที่จะส่งผลงานเพื่อขอรับการประเมิน สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาคัดเลือกบุคคลหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาคัดเลือกบุคคล 1. ให้ผู้มีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 เป็นผู้พิจารณาคัดเลือก กรณีผู้ที่ดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ และระดับชำนาญการพิเศษ และจัดอยู่ในกลุ่มตำแหน่งเดียวกัน ทั้งนี้ เมื่อผ่านการคัดเลือกแล้วให้แต่งตั้งได้โดยไม่ต้องมีการประเมินผลงาน 2. ให้คณะกรรมการคัดเลือกเป็นผู้พิจารณาคัดเลือก ดังนี้ 2.1 กรณีไม่เคยดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ หรือระดับชำนาญการพิเศษ แต่เคยดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ 2.2 กรณีดำรงตำแหน่ง หรือเคยดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ หรือชำนาญการ หรือระดับชำนาญการพิเศษ แต่ไม่ได้อยู่ในกลุ่มตำแหน่งเดียวกัน หรือกรณีเป็นพนักงานหรือข้าราชการตามกฎหมายอื่น ซึ่งมีลักษณะงานเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้องหรือเกื้อกูลกับตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง 2.3 กรณีอื่นๆ นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ให้พิจารณาเป็นรายๆไป สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาคัดเลือกบุคคล (ต่อ) ผู้ขอรับการคัดเลือกตามกรณีที่ 2.1, 2.2, 2.3 ต้องจัดทำเอกสารประกอบการคัดเลือก ดังนี้ 5. ข้อเสนอแนวคิดเพื่อพัฒนางานในตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง 1 เรื่อง 1. ข้อมูลส่วนบุคคล 2. การประเมินลักษณะบุคคล 6. แบบเปรียบเทียบหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่เคยดำรงตำแหน่งและตำแหน่งที่จะรับย้าย โอน หรือบรรจุกลับ 3. ผลการปฏิบัติงานย้อนหลัง 3 ปี 4. ชื่อผลงานที่เป็นผลการดำเนินงานที่ผ่านมาที่จะส่ง พร้อมเค้าโครง ชื่อผลงานและเค้าโครงผลงานจะต้องเป็นผลการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องหรือเกื้อกูลกับงานของตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง จำนวน 1 เรื่อง สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาคัดเลือกบุคคล (ต่อ) ต้องได้รับคะแนนรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ขึ้นไป ต้องคำนึงถึงกรณีที่บุคคลผู้นั้นได้รับการเลื่อนให้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น จะต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนทุกประการตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้นด้วย สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาคัดเลือกบุคคล (ต่อ) แนวทาง 1. ผู้ผ่านการคัดเลือกตาม 2.1 ต้องทำผลงานเพื่อประเมินภายใน 2 เดือน 2. ผู้ผ่านการคัดเลือกตาม 2.2 2.3 การจัดทำผลงานจะขึ้นกับกับพิจารณาของคณะกรรมการคัดเลือกบุคคล ถ้าเกี่ยวข้องเกื้อกูล เกินครึ่งขึ้นไป ไม่ต้องประเมินผลงาน ถ้าเกี่ยวข้องเกื้อกูล ไม่ถึงครึ่ง • ต้องทำผลงานเพื่อประเมินภายใน 2 เดือน สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงาน ใช้หลักเกณฑ์วิธีการเดียวกับการประเมินผลงานเพื่อ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ และระดับชำนาญการพิเศษ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
3. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อ • รับเงินประจำตำแหน่งสำหรับผู้ดำรงตำแหน่ง • ประเภทวิชาการระดับชำนาญการ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน
3. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อรับเงินประจำตำแหน่ง • สำหรับผู้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการระดับชำนาญการ • ผู้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการในสายงานที่ กฎ ก.พ. ว่าด้วยการให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับเงินประจำตำแหน่ง พ.ศ. 2551 กำหนดให้มีสิทธิ์ได้รับเงินประจำตำแหน่ง • ผู้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ หรือเทียบเท่ามาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ให้มีสิทธิขอรับการประเมินบุคคลเพื่อรับเงินประจำตำแหน่ง • “โดยให้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อเลื่อนและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ • ระดับชำนาญการ”
กลุ่มที่ 5 • -เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ • กลุ่มที่ 1 • -เจ้าพนักงานธุรการ • -เจ้าพนักงานพัสดุ • -เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี • -เจ้าพนักงานสถิติ • กลุ่มที่ 2 • -นายช่างโยธา • -นายช่างชลประทาน • -นายช่างสำรวจ • -นายช่างเขียนแบบ • กลุ่มที่ 3 • -นายช่างเครื่องกล • -นายช่างโลหะ • กลุ่มที่ 4 • -นายช่างไฟฟ้า • -เจ้าพนักงานสื่อสาร • กลุ่มที่ 6 • -นายช่างศิลป์ • -นายช่างภาพ • -นายช่างพิมพ์ • กลุ่มที่ 7 • -เจ้าพนักงานการเกษตร • กลุ่มที่ 8 • -เจ้าพนักงานอุทกวิทยา • กลุ่มที่ 9 • -นายช่างเทคนิค • กลุ่มที่ 10 • -เจ้าพนักงานห้องสมุด รายการแสดงรายละเอียดในการจัดกลุ่มตำแหน่งสำหรับตำแหน่งประเภททั่วไปใน กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ตามหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1008.3.2/140 ลว. 3 เมษายน 2552) สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน