1 / 131

Stocks Over Dimension

By Asia Plus Research. Stocks Over Dimension. Contents. หลักการหาหุ้นในเบื้องต้น การอ่านกราฟรายนาที รายวัน รายสัปดาห์ และรายเดือน การใช้งาน Indicators สำคัญต่างๆ การประยุกต์ใช้ ระหว่าง Indicators และ Price pattern เพื่อยืนยันทิศทางและหาเป้าหมายราคา สรุป และถาม – ตอบ.

juro
Download Presentation

Stocks Over Dimension

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. By Asia Plus Research Stocks Over Dimension

  2. Contents • หลักการหาหุ้นในเบื้องต้น • การอ่านกราฟรายนาที รายวัน รายสัปดาห์ และรายเดือน • การใช้งาน Indicators สำคัญต่างๆ • การประยุกต์ใช้ ระหว่าง Indicators และ Price pattern เพื่อยืนยันทิศทางและหาเป้าหมายราคา • สรุป และถาม – ตอบ

  3. หลักการหาหุ้นเบื้องต้นหลักการหาหุ้นเบื้องต้น การหาหุ้นโดยทั่วไปจะมีอยู่ 2 แนว คือ • คนอื่นหาให้ : คนในตลาดส่วนใหญ่มักจะซื้อหุ้นตามที่คนอื่นบอก ข้อดีก็คือ หากถูกตัวหุ้นตัวนั้นๆมักจะวิ่งยาวตามกระแส แต่ข้อเสียก็คือ ถ้าไปเจอหุ้นเรียกแขก และออกไม่ทันอาจติดดอยยาว • หาหุ้นด้วยตัวเอง : เหมาะสำหรับนักลงทุนที่มีความรู้และประสบการณ์เป็นทุนเดิม ข้อดีคือหุ้นที่หามามักจะปลอดภัยและมีโอกาสทำกำไรได้ต่อเนื่อง ส่วนข้อเสียก็คือหุ้นอาจไม่ได้อยู่ในกระแสตลาด ทำให้อาจได้ผลตอบแทนที่ค่อนข้างน้อย

  4. การหาหุ้นด้วยตัวเอง • วิเคราะห์ Top Down: เริ่มจากการมองภาพรวมเศรษฐกิจ การเมือง ฯลฯ ก่อนจะมาวิเคราะห์ความได้เปรียบของแต่ละอุตสาหกรรม และเจาะลงไปในหุ้นที่อยู่ในอุตสาหกรรมนั้นๆ • วิเคราะห์ Down Top: มองหาหุ้นเด่นก่อนมองภาพรวมตลาด วิธีการนี้ต้องใช้ความขยันเป็นอย่างสูง ซึ่งนักลงทุนประเภท Value Investor ส่วนใหญ่มักจะมาแนวทางนี้ • ใช้โปรแกรมในการค้นหาหุ้น : เป็นการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการค้นหาหุ้นที่เข้าเกณฑ์ทางพื้นฐาน เช่น PE PBV หรือ หุ้นที่เกิดสัญญาณซื้อทางเทคนิค

  5. ตัวอย่างการใช้โปรแกรมในการหาหุ้น

  6. การหาหุ้นด้วยตัวเอง (ต่อ) • ใช้การวิเคราะห์ทางเทคนิค : หาหุ้นด้วยการอ่านการเคลื่อนไหวของราคาและปริมาณ สามารถแบ่งออกเป็น 2 สาย คือ Price Pattern และ Indicators

  7. ขั้นตอนการหาหุ้น Ping Style คัดเลือกหุ้น วิเคราะห์ภาพรวม (เศรษฐกิจ ตลาด อุตสาหกรรม การเมือง ฯลฯ) วางกลยุทธ์ วิเคราะห์บริษัท หาจุดซื้อและเป้าหมายราคา

  8. Technical Analysis • การวิเคราะห์ราคาหุ้นด้วยวิธีทางเทคนิค • ใช้ข้อมูลน้อย คือ ใช้เพียง ราคาและปริมาณการซื้อขาย ในแต่ละช่วงเวลาเท่านั้น • ใช้หลักวิชาการที่เป็นที่ยอมรับมาวิเคราะห์ คือใช้หลักวิชาการทางสถิติ ความน่าจะเป็น ฯลฯ (กึ่งๆการวิเคราะห์เชิงปริมาณ) • ใช้หลักจิตวิทยา โดยมีปรัชญาความเชื่อหลัก 3 ประการ คือ • 3.1 ราคาเป็นผลรวมที่สะท้อนมาจากปัจจัยด้านต่างๆ ทั้งจากปัจจัยพื้นฐาน ข้อมูลภายใน ความกล้า และความกลัว • 3.2 ราคามักจะเคลื่อนไปตามแนวโน้มอย่างมีแบบแผน ในช่วงเวลาหนึ่งๆจนกว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มใหม่ • 3.3 พฤติกรรมการลงทุนของนักลงทุนทั่วไปมักจะกระทำซ้ำรอยเดิม (เกิดจากแรงผลัก 3 ประการ ความโลภ ความหวัง ความกลัว)

  9. Fundamental Analysis การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานเป็นการวิเคราะห์ภาวะทางเศรษฐกิจ การเมือง ภาวะอุตสาหกรรม ทั้ง Macro และ Micro ไม่ว่าจะเป็น เงินเฟ้อ การว่างงาน ดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน GDP Growth รวมทั้งการวิเคราห์ที่เน้นไปยังคุณลักษณะของบริษัทแต่ล่ะแห่ง เช่น ผลประกอบการ การเติบโตในอดีต สภาพธุรกิจ การแนะนำผลิตภัณฑ์ใหม่ การปรับปรุงเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงผู้บริหาร การเติบโตของอุปสงค์ การเปลี่ยนแปลงระดับการก่อหนี้ การลงทุนในโรงงานและเครื่องจักรใหม่ๆ การซื้อกิจการ การคาดการณ์ส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นไปที่ผลกำไรของบริษัท และการคาดคะเนการเติบโตในอนาคต และนำมาประเมินราคาหลักทรัพย์ว่าควรจะมีราคาเท่าใด การวิเคราะห์พื้นฐานมีเป้าหมายในการหาหุ้นที่ต่ำกว่ามูลค่าที่แท้จริง (แตกต่างจาก Value Investment ตรงที่การวิเคราห์พื้นฐานมักจะอิงกับกระแสตลาด และเน้นไปที่การเปลี่ยนแปลงของราคา ไม่ใช่การเปรียบเทียบระดับราคาตามปัจจัยพื้นฐาน เช่น หุ้นที่มี PE ต่ำที่สุดในกลุ่ม Relative Value จะถูกมองเป็นหุ้นถูก ในความเป็นจริง หากเวลานั้นหุ้นกำลังแพงทั้งตลาด ก็ไม่ได้แปลว่าหุ้นตัวนั้นราคาถูก)

  10. Value Investment • นักลงทุนแบบเน้นมูลค่าจะประเมินมูลค่าตามปัจจัยพื้นฐานของหลักทรัพย์ และเปรียบเทียบตัวเลขดังกล่าวกับราคาตลาด หากราคาอยู่ในระดับต่ำกว่ามูลค่าจนก่อให้เกิดส่วนเผื่อที่เพียงพอ (Margin of Safety) จะทำการเข้าซื้อทันที กระบวนการหลักๆก็คือ • คัดเลือกหุ้นเพื่อทำการประเมินมูลค่า • ประเมินมุลค่าตามปัจจัยพื้นฐานของหลักทรัพย์ • คำนวน Margin of Safety • ตัดสินใจซื้อ ให้เข้ากับ Portfolio ที่ต้องการ

  11. แนวทางการลงทุน Value Investment General Investment มูลค่าตามปัจจัยพื้นฐาน เทคนิค มูลค่าตามปัจจัยพื้นฐาน • การเปลี่ยนแปลง • ราคาตลาด+การคาดการณ์การเปลี่ยนแปลง Macro และ Micro เปรียบเทียบราคาตลาดกับมูลค่าพื้นฐาน

  12. Contents • หลักการหาหุ้นในเบื้องต้น • การอ่านกราฟรายนาที รายวัน รายสัปดาห์ และรายเดือน • การใช้งาน Indicators สำคัญต่างๆ • การประยุกต์ใช้ ระหว่าง Indicators และ Price pattern เพื่อยืนยันทิศทางและหาเป้าหมายราคา • สรุป และถาม – ตอบ

  13. การอ่านกราฟทางเทคนิค การดูกราฟทางเทคนิค โดยหลักการแล้วคือการอ่านการเคลื่อนไหวของราคาหุ้น ซึ่งการเคลื่อนไหวของราคามักจะซ่อนข้อมูล พฤติกรรม และข่าวของหุ้นไว้ข้างในเสมอ องค์ประกอบในการดูกราฟคือ ราคา ปริมาณ และ จินตนาการ

  14. การอ่านกราฟทางเทคนิค (ต่อ) การเคลื่อนไหวและพฤติกรรมของราคา มักจะมีรูปแบบเป็นแนวโน้ม วนรอบ และมีลักษณะที่ชัดเจน (หากเป็นไปในรูปแบบสุ่ม Random Walks จะไม่สามารถใช้วิเคราะห์เทคนิคได้เลย) แนวโน้ม มาตรการฐาน ขาขึ้น Uptrend ขาลง Downtrend แกว่งในกรอบ Sideway

  15. Chart Periods • Minute • Daily • Weekly • Monthly

  16. Chart Reading : Daily กราฟรายวัน : ไว้สำหรับดูการเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นในแต่ล่ะวัน (การเคลื่อนไหวในวันจะสะท้อนออกมาอยู่ใน Candlestick) ควรใช้การเคลื่อนไหวของราคาควบคู่ไปกับการดู Volume เพื่อดูจังหวะ สะสม ไล่ และทิ้งของ ทั้งนี้ หากใช้กราฟรายวันในการดูพฤติกรรมการลงทุน โดยส่วนใหญ่จะพบว่า จังหวะสะสม จะใช้เวลาประมาณ 2 สัปดาห์ถึง 1 เดือน จังหวะการไล่จะใช้เวลา 3 – 7 วัน จังหวะการพักอาจใช้เวลาแค่ 1 สัปดาห์ จังหวะการลากอาจกินเวลาไปอีก 1 เดือน ก่อนจะทิ้งของโดยใช้เวลาแค่ 1-2 สัปดาห์

  17. Chart Reading : Daily Inner Uptrend Major Uptrend 2 - 6สัปดาห์ 3-7 วัน 3-7 วัน 1 เดือน

  18. Chart Reading : Daily

  19. Chart Reading : Daily จังหวะการไล่ มักจะเริ่มด้วยแท่งเทียนเขียวยาวล่ำ พร้อมด้วย Volume หนุนหนาตา (อาจมากที่สุดในรอบ 1-2 เดือน) รูปแบบการไล่ที่เกิดขึ้น หากเกิดหลังจากที่ราคามีการสะสมกำลังในลักษณะแกว่งนิ่งบวกลบสลับในกรอบแคบไปเรื่อยๆ จะถือเป็นสัญญาณที่มีความน่าเชื่อถือสูงมากกว่า มีการไล่หลังจากที่ราคาปรับเพิ่มขึ้นมาก่อนหน้าแล้ว

  20. Chart Reading : Daily

  21. Chart Reading : Daily หลังจากจุดพลุด้วยแท่งเทียนเขียวล่ำด้วย Volume หนาแล้ว หากราคาไปต่อเนื่อง มักจะขึ้นด้วยแท่งยาวอีกอย่างน้อย 2 แท่ง และไปเกิดสัญญาณชะลอตัวในแท่งที่ 3 แต่ถ้าราคาเกิดหดตัวหลังจากการทำแท่งเทียนเขียวแรก ตามปกติแล้วจะย่อตัวไม่กี่วันก็จะปรับเพิ่มขึ้นอีกครั้ง (ยกเว้นว่าราคาจะปรับลงต่ำกว่าระดับ Open ของแท่งเขียวแรก

  22. Three Advancing White Soldiers Three Advancing White Soldiers

  23. Three Dimension Method Three Dimension Method ระดับเปิด

  24. Trend Analysis T 3 Downtrend T 4 Uptrend T 5 T 2 B 3 B 4 B 5 B 2 T 1 Sideway B 1

  25. Direction-Strategy ผ่าน 61.8% ขึ้นมาได้โอกาสทดสอบ High สูง Top ถูกกด 61.8% 38.2% ? Top และ Low ถูกกด ยืนยันขาลงชัดเจน

  26. Support-Resistance แนวรับ (Support)คือ ระดับราคาที่คอยรองรับราคาหุ้นเมื่อมีการปรับฐานหรือหล่นลงมาซึ่งราคาหุ้นจะเด้งกลับเมื่อลงมาแตะที่ระดับนี้ หากอธิบายในเชิงเศรษฐศาสตร์ ระดับราคาที่แนวรับจะเป็นราคาที่มี demand มากกว่า supply นั่นคือ มีจำนวนผู้เต็มใจที่จะซื้อที่ราคานี้มากกว่าผู้ขาย ทำให้ผู้ซื้อจะคอยรับซื้อไว้ที่ราคาดังกล่าวเป็นการสร้างความแข็งแกร่งให้กับราคาหุ้นไม่ให้ร่วงหลุดไปจากระดับนี้ S1 S2

  27. Support-Resistance แนวต้าน (Resistance)มีความหมายตรงกันข้ามกับแนวรับ นั่นคือ เป็นระดับราคาที่คอยกั้นไม่ให้ราคาหุ้นวิ่งทะลุขึ้นไป หากราคาหุ้นพุ่งมาถึงระดับนี้มักจะมีการปรับฐานลงไปและขึ้นมาทดสอบใหม่ ในเชิงเศรษฐศาสตร์ นี่คือ จุดราคาที่มีผู้ขายมากกว่าผู้ซื้อ supply มากกว่าdemand ทำให้ราคาไม่สามารถทะลุขึ้นไปได้ R2 R1

  28. ตัวอย่างราคา

  29. ตัวอย่างราคา

  30. ตัวอย่างราคา

  31. Support-Resistance “รับเปลี่ยนเป็นต้าน และ ต้านเปลี่ยนเป็นรับ” กล่าวคือ หากราคาหุ้นทะลุแนวรับลงมา ย่อมหมายความว่า แรงขายมีปริมาณมากพอที่จะกดดันให้ราคาทะลุผ่านแนวรับ เพราะฉะนั้น หากหุ้นจะปรับตัวกลับขึ้นมาอีกรอบ จะต้องมีแรงซื้อมากพอที่จะเอาชนะแรงขายที่ระดับราคานี้ แนวรับเก่าจะกลายเป็นแนวต้านใหม่ไปโดยปริยาย นี่คือ กรณีของรับเปลี่ยนเป็นต้าน ส่วนกรณี ต้านเปลี่ยนเป็นรับ ก็คล้ายกัน แต่เป็นไปในทิศทางกลับกัน Support Resistance

  32. Support-Resistance ความชันและการดีดตัว เส้นแนวโน้มขาขึ้นนอกจากจะให้เป็นแนวรับได้แล้ว ในยามที่ราคาเกิดการปรับฐานยังสามารถใช้แนวเส้นเดิมเป็นแนวต้านได้ด้วย ส่วนแนวรับเส้นใหม่จะเป็นเส้นแนวโน้มที่มีความชันน้อยกว่าเดิม การใช้เส้นแนวโน้มที่มีความชันในระดับต่างๆกันนี้เราจะเรียกว่า Speed Line บางสำนักอาจไปใช้ Fibonacci Fan 100% 61.8% 50.0% 38.2% 0%

  33. รูปแบบราคา (Price Pattern) รูปแบบการเคลื่อนไหวของราคา สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 แบบหลักๆคือ รูปแบบต่อเนื่อง และ รูปแบบกลับทิศ รูปแบบต่อเนื่อง (Continuous Pattern) จะประกอบไปด้วย • Flags and Pennant • Ascending, Descendingand SymmetricalTriangles • Carabao Pattern • Phukradung Pattern

  34. รูปแบบราคา (Price Pattern) • รูปแบบกลับทิศ (Reversal Pattern) จะประกอบไปด้วย • Double and Triple Pattern • Head and Shoulder • Saucer Pattern • V-Shape • Mountain Pattern

  35. Chart Patterns เมื่อราคามีการถูกไล่ขึ้นอย่างต่อเนื่อง (ปกติแล้วต้องเล่นกัน 3 วันเป็นอย่างน้อย) ราคาจะต้องมีจังหวะการพักตัว ซึ่งการพักตัวก็จะมีทั้งพักสั้นกับพักนาน หากพักสั้นราคาก็จะขึ้นต่ออีกระยะ แต่หากพักยาวก็เท่ากับสร้างฐานใหม่หากราคาวิ่งอีกครั้งจะวิ่งยาวมาก รูปแบบพักตัวระยะสั้นเช่น Flags หรือ Pennant รูปแบบพักตัวระยะยาวเช่น Ascending หรือ SymmetricalTriangles

  36. Chart Patterns • Continuous Patterns • Flags and Pennant • Ascending, Descendingand SymmetricalTriangles • Carabao Pattern • Phukradung Pattern

  37. Flags Flags คือรูปแบบของกราฟที่มีลักษณะคล้ายธง รูปแบบนี้จะเป็นการหยุดพักการเคลื่อนที่ของราคาหุ้นไว้ชั่วระยะเวลาหนึ่ง รูปแบบกราฟชนิดนี้มักจะเกิดหลังจากที่หุ้นเกิดการปรับ ขึ้น หรือลงแรง โดยจะใช้เวลาในการสร้างประมาณ 1-2 อาทิตย์ และปริมาณการซื้อขายมักจะลดลงในช่วงเวลาดังกล่าว

  38. Flags ขึ้น-พัก-ขึ้นต่อ โดยปกติ ราคาจะมีการ Breakout ตามแนวโน้มที่เกิดขึ้นในช่วงแรก พักตัว และมักใช้เวลาประมาณ 3-5 วัน ราคามีการปรับพุ่งขึ้นมาเร็วและแรง (มีความชันมาก) หรือมักจะมีการทำ Candlestick เป็น Three Advancing White Soldiers

  39. Notes • รูปแบบ Flags มักจะเกิดหลังจากที่ราคามีการ ขึ้นหรือลงรุนแรง ภายในระยะเวลาไม่กี่วัน • การสร้างกลุ่มราคามักจะใช้เวลาประมาณ 4-12 วัน • หากพบรูปแบบ Flags ที่ใช้เวลาในการสร้างนานกว่า 15 วัน รูปแบบที่เกิดขึ้นจะกลายเป็น Rectangles, Channels • ปริมาณการซื้อขายจะลดลงในช่วงที่ราคาเข้าสู่การพักตัว • การ Breakout จะเกิดเมื่อราคา Break Trend Line พร้อมๆกับมีปริมาณที่เพิ่มเข้ามากกว่าช่วงการพักตัว

  40. Using of Flags Pattern in Trading • ใช้คำนวนหาราคาเป้าหมาย • รอจนเกิดการ Breakout ค่อยเข้าซื้อ • ขายหุ้นทิ้ง กรณี่ที่แนวโน้มก่อนหน้าเป็นขาขึ้น และหลังจากที่ราคาสร้างรูปแบบพักตัว แล้วมีการ Upward Breakout ราคาควรจะต้องเคลื่อนไหวไปตามแนวโน้มที่เกิดขึ้นก่อนหน้า หากเกิดสัญญาณไม่ไปต่อเช่น Throwback, Engulfing, Dark Cloud, Shooting Star ควรรีบชิงขายออกไปก่อน • ตัดขาดทุน ในกรณีที่แนวโน้มก่อนหน้าราคาลงมาแรงและกำลังอยู่ในช่วงพักตัว อาจรอให้ราคา Downward Breakout ตัดเส้นแนวโน้มด้านล่างลงมาแล้วค่อยตัดขาดทุน

  41. Target PriceCalculation A + h C + (1 xH) A h H C Buy B

  42. ตัวอย่างราคา

  43. ตัวอย่างราคา

  44. ตัวอย่างราคา

  45. ตัวอย่างราคา

  46. Pennants Pennants คือรูปสามเหลี่ยมปลายแหลมที่มีลักษณะคล้ายธง (คล้าย Pennants แต่จะกินระยะเวลามากกว่า) ซึ่งด้านที่เป็นปลายแหลมของธงนั้นขะชี้ไปทางขวา รูปแบบกราฟชนิดนี้มักจะเกิดหลังจากที่หุ้นเกิดการปรับ ขึ้น หรือลงแรง โดยจะใช้เวลาในการสร้างประมาณ 1-2 อาทิตย์ และปริมาณการซื้อขายมักจะลดลงในช่วงเวลาดังกล่าว

  47. Pennants ราคาเข้าสู่รูปแบบพักตัว โดยสร้างกลุ่มของกราฟที่มีทิศทางตรงข้ามกับแนวโน้มที่เกิดก่อนหน้า โดยปกติ ราคาจะมีการ Breakout ตามแนวโน้มที่เกิดขึ้นในช่วงแรก ราคามีการปรับพุ่งขึ้นมาเร็วและแรง (มีความชันมาก)

  48. Notes • รูปแบบ Pennants มักจะเกิดหลังจากที่ราคามีการ ขึ้นหรือลงรุนแรง ภายในระยะเวลาไม่กี่วัน • การสร้างกลุ่มราคามักจะใช้เวลาประมาณ 4-12 วัน • หากพบรูปแบบ Pennants ที่ใช้เวลาในการสร้างนานกว่า 40 วัน รูปแบบที่เกิดขึ้นจะกลายเป็น Symmetric Triangles, Rising / Falling Wedges • ปริมาณการซื้อขายจะลดลงในช่วงที่ราคาเข้าสู่การพักตัว • การ Breakout จะเกิดเมื่อราคา Break Trend Line พร้อมๆกับมีปริมาณที่เพิ่มเข้ามากกว่าช่วงการพักตัว

  49. Using of Pennants Pattern in Trading • ใช้คำนวนหาราคาเป้าหมาย • รอจนเกิดการ Breakout ค่อยเข้าซื้อ • ขายหุ้นทิ้ง กรณี่ที่แนวโน้มก่อนหน้าเป็นขาขึ้น และหลังจากที่ราคาสร้างรูปแบบพักตัว แล้วมีการ Upward Breakout ราคาควรจะต้องเคลื่อนไหวไปตามแนวโน้มที่เกิดขึ้นก่อนหน้า หากเกิดสัญญาณไม่ไปต่อเช่น Throwback, Engulfing, Dark Cloud, Shooting Star ควรรีบชิงขายออกไปก่อน • ตัดขาดทุน ในกรณีที่แนวโน้มก่อนหน้าราคาลงมาแรงและกำลังอยู่ในช่วงพักตัว อาจรอให้ราคา Downward Breakout ตัดเส้นแนวโน้มด้านล่างลงมาแล้วค่อยตัดขาดทุน

  50. Using of Pennants Pattern in Trading Target Price 1 xH A H Buy B

More Related