1.09k likes | 2.14k Views
บทที่ 1. การจัดการและแนวความคิดทางการจัดการ (Management & Management Thought). บ.ซีพี. ธุรกิจอาหารสัตว์ . ร้านค้าเมล็ดพันธ์พืช . ธุรกิจเลี้ยงสัตว์ . ร้านค้าปลีก . 7-11. Lotus. ร้านอาหาร . Chester Grill. ไก่ย่างห้าดาว. บัวบาน. ธุรกิจ IT . TRUE TRUE
E N D
บทที่ 1 การจัดการและแนวความคิดทางการจัดการ (Management & Management Thought)
บ.ซีพี ธุรกิจอาหารสัตว์ ร้านค้าเมล็ดพันธ์พืช ธุรกิจเลี้ยงสัตว์ ร้านค้าปลีก 7-11 Lotus ร้านอาหาร Chester Grill ไก่ย่างห้าดาว บัวบาน ธุรกิจ IT TRUE TRUE UBC
การบริหาร VS การจัดการ (Administration VS Management) การบริหาร (Administration) เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบายและแผนงาน ตลอดจนการกำกับดูแลเพื่อให้แน่ใจว่า ความสำเร็จที่เกิดขึ้นสอดคล้องกับนโยบายและแผนที่วางไว้ การจัดการ (Management) เป็นกระบวนการของการนำเอานโยบายและแผนงานไปปฏิบัติ ให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดในขั้นของการบริหาร
การจัดการ (Management) องค์การภาคเอกชน (Business Private Sector) การบริหาร (Administration) การบริหารรัฐกิจ (Public Administration Sector) การจัดการ (Management) < == > การบริหาร (Administration)
ผู้บริหารTop Manager ผู้จัดการ Middle Manager หัวหน้าคนงานFirst Line Manager ลำดับชั้นของการจัดการ
ความหมายของการจัดการ “การจัดการเป็นเทคนิคการทำงานให้สำเร็จ โดยอาศัยผู้อื่น” “การจัดการ คือ กระบวนการการจัดองค์การและการใช้ทรัพยากรต่างๆ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดขึ้นไว้ล่วงหน้า” Mary Parker Follett Ernest Dale
“การจัดการเป็นการใช้ศาสตร์และศิลปะนำเอาทรัพยากรการบริหาร มาประกอบตามกระบวนการบริหารเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ” สมพงษ์ เกษมสิน
การจัดการ ทรัพยากร ทางการบริหาร - คน - เงิน - วัสดุ - วิธีการ - เครื่องจักร การจัดองค์การ การวางแผน เป้าหมายขององค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การควบคุม การสั่งการ กระบวนการทางการจัดการ
ทรัพยากรทางการจัดการ(Management Resources) • คน (Man) • เงิน (Money) • วัสดุ (Materials) • วิธีการบริหาร(Management or Method) • เครื่องจักร (Machine) • ตลาด (Market) M ?? สำคัญที่สุด !!!
คน เป็นทรัพยากรที่สำคัญที่สุด กรณีศึกษา เจริญ สิริวัฒนภักดี ตัน ภาสกรนที
ความสำคัญของการศึกษาการจัดการความสำคัญของการศึกษาการจัดการ • สภาพแวดล้อมทางธุรกิจเปลี่ยนแปลง • การขยายเขตการค้าเสรี • ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ • Globalization
การจัดการเป็นศาสตร์ (Science) หรือ ศิลป์ (Art) ? การจัดการ ศาสตร์ด้านสังคม (Social Science) x ศาสตร์บริสุทธิ์ (Pure Science) x การจัดการ ศาสตร์และศิลป์ อัตราส่วน ????
แนวความคิดทางการจัดการ (Management Thought) ยุคที่ 1 ยุคก่อนการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ ยุคที่ 2 ยุคการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ ยุคที่ 3 แนวความคิดของมนุษย์สัมพันธ์ ยุคที่ 4 ยุคของการจัดการเชิงปริมาณ ยุคที่ 5 ยุคของการจัดการสมัยใหม่
ยุคที่ 1 ยุคก่อนการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Pre-scientific Management Period) นายกับบ่าว กษัตริย์กับทาส เริ่มประมาณปี ค.ศ. 1800 หลังมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม
ยุคที่ 1 ยุคนี้เป็นยุคก่อนปี ค.ศ. 1880 การจัดการในยุคนี้ต้องอาศัยอำนาจหรือการบังคับ เป็นปัจจัยทางการบริหารที่สำคัญที่สุด วิธีการใช้อำนาจ การใช้แส้ โซ่ตรวน การจำคุก ฯลฯ มนุษย์ในยุคนี้ยอมทำงานก็เพราะกลัวการลงโทษ ถูกบังคับด้วยความจำใจ ความสัมพันธ์ภายในหน่วยงานมีลักษณะเป็น นายกับบ่าว กษัตริย์กับทาส ฯลฯ
ยุคที่ 2 ยุคการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) • ค.ศ. 1880 - 1930 • ปฏิวัตอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว • คนงานย้ายจากชนบทสู่เมือง นายจ้างตกลงค่าแรงกับลูกจ้าง • ก่อนเริ่มทำงาน คนงานมีโอกาสพัฒนาความรู้ความสามารถ
ยุคที่ 2 ยุคการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) • บุคคลที่มีชื่อเสียงในการบริหารงานยุคนี้ • Robert Owen, • FrederickW.Taylor • Henri Fayol
ยุคที่ 2 1. Robert Owen “การลงทุนที่ดีที่สุดของผู้บริหาร คือ การลงทุนในคน” • การปรับปรุงสภาพของพนักงาน/คนงานให้ดีขึ้น จะส่งผลไปสู่การเพิ่มการผลิตและผลกำไร ในขณะที่ผู้บริหารคนอื่นๆมุ่งที่จะใช้เงินลงทุนไปในการปรับปรุงเทคนิคการผลิตมากกว่า
ยุคที่ 2 1. Robert Owen ผู้บริหาร งดใช้แรงงานเด็ก สร้างที่พักที่ดี และร้านขายของถูกให้คนงาน ปฏิรูป ลดชั่วโมงการทำงาน ปรับปรุงขวัญ และให้กำลังใจพนักงาน เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต
ยุคที่ 2 2. Frederic W. Taylor “The Father of Scientific Management” • คัดค้านการบริหารงานแบบเก่าที่ใช้“อำนาจ” • เสนอว่าการบริหารที่ดีจะต้องมี“หลักเกณฑ์” • การบริหารงานที่ขาดประสิทธิภาพเกิดจาก: • การแบ่งงานที่ไม่เหมาะสม ที่ไม่ได้กำหนดมาตรฐาน/ เกณฑ์ในการวัดผลงานของคนงาน
ยุคที่ 2 2. Frederic W. Taylor เสนอวิธีแสวงหาหลักเกณฑ์ที่เหมาะสม ที่เรียกว่า “Time & Motion Study” • Time: ศึกษาว่างานแต่ละขั้นนั้นต้องใช้เวลาอย่างน้อยที่สุด • เท่าใดจึงจะเสร็จ • Motion: ศึกษาเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวในการทำงาน • แต่ละขั้นเพื่อปรับปรุงวิธีการทำงานให้สำเร็จโดยใช้ • พลังงานต่ำที่สุด • แบ่งงานออกเป็นขั้นตอน เพื่อให้คนงานได้ทำงาน • ในขั้นตอนที่เขาทำได้ดีที่สุดและมากที่สุด
ยุคที่ 2 2. Frederic W. Taylor การจัดการต้องเน้นที่ “การปรับปรุงระบบการผลิต” โดยผู้บริหารจะต้องปฏิบัติดังนี้ 1. กำหนดวิธีการทำงานของคนงานแต่ละคนด้วยหลักเกณฑ์ที่ทดลองแล้วว่า เป็นวิธีที่ดีที่สุด (One Best Way) 2. จัดให้มีระบบการคัดเลือกบุคคลหาคนให้เหมาะสมกับงานมากที่สุด 3. ให้ความร่วมมือกับคนงานเสมอ และให้ความสำคัญกับการทำงานที่มี ประสิทธิภาพพอๆกับการจัดองค์กร 4. วางแผนงาน โดยแบ่งงานและมองหมายงานให้คนงานตามความถนัด และความสนใจ
ยุคที่ 2 2. Frederic W. Taylor ให้ความสำคัญกับ การจูงใจให้คนงานทำงานมากขึ้น เสนอให้ “จ่ายค่าแรงเป็นชิ้น(A Piece Rate System)” หลักการ: แบ่งอัตราค่าจ้างเป็น 2 อัตรา 1. อัตราที่ใช้สำหรับระดับผลผลิตที่ ยังไม่ถึงมาตรฐาน 2. อัตราที่กับระดับผลผลิตที่ เท่ากับหรือสูงกว่ามาตรฐาน
ยุคที่ 2 ตัวอย่าง:“Piece Rate System” 1. Time & MotionStudyมาตรฐาน คนงานต้องผลิตสินค้าได้ 100 หน่วย/วัน 2. กำหนดค่าจ้างหน่วยละ 1.20 สำหรับหน่วยที่ 0 – 99 แต่ ถ้าคนงานผลิตได้ 100 หน่วย หรือ มากกว่า ค่าจ้างหน่วยละ 1.35 ดังนั้น Case 1: ผลิตได้ 99 หน่วย ได้ผลตอบแทน 118.80 (99 x 1.20) Case 2: ผลิตได้ 100 หน่วย ได้ผลตอบแทน 135 (100 x 1.35)
ยุคที่ 2 2. Frederic W. Taylor Famous Publications: 1. “Shop Management” (1903) 2. “The Principle of Scientific Management” (1910) ได้รับความนิยมสูงสุดโดยมี หลักสำคัญ คือ ใช้คนให้ถูกต้องกับงาน“Put the Man in the Right Job”
ยุคที่ 2 ตัวอย่าง การศึกษาถึงหลักการบริหารของ Taylor 1. การขนแร่เหล็ก 2. การทดลองตักวัตถุ
ยุคที่ 2 การขนแร่เหล็ก การทดลองของ Taylor เป็นเรื่องของการขนแร่เหล็กที่ออกจากเตาหลอมไปยังรถบรรทุกที่บริษัท Bethlehem Steel
ยุคที่ 2 การทดลองตักวัตถุ การทดลองนี้นำชื่อเสียงมาให้แก่ Taylor อย่างมาก เมื่อ Taylor เข้ามาทำงานที่บริษัท Bethlehem Steel
ยุคที่ 2 ผู้สนับสนุนแนวความคิดของ Taylor - Henry L. Gantt - Frank and Lillian Gilbreth Ex. Ford and Scientific Management
ยุคที่ 2 Henry L. Gantt • ควรมีการกำหนดผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษในรูปของ “โบนัส” • สำหรับคนงานที่สามารถทำงานได้ตามที่มอบหมายในแต่ละวัน - Gantt Chart
ยุคที่ 2 กิจกรรม 1 กิจกรรม 2 กิจกรรม 3 กิจกรรม 4 ตุลาคม มกราคม เมษายน มิถุนายน รูปที่ 2.4 แผนผังการทำงานของแกนท์ (Gantt chart) *
ยุคที่ 2 FrankBunker Gilbreht Lillian Moller Gilbreht จัดทำภาพยนตร์แสดงการเคลื่อนไหวของคนงาน เพื่อชี้ให้แสดงถึงการเคลื่อนไหวที่สูญเปล่า และไม่มีผลทางการผลิต และเคลื่อนไหวที่จำเป็นในการทำงาน ทั้งนี้โดยเรียกความเคลื่อนไหวพื้นฐานนี้ว่า Therblig Ex.Bricklaying Ergonomics
ยุคที่ 2 3. Henri J. Fayol ความแตกต่างระหว่างการศึกษาของFayol vs.Taylor
ยุคที่ 2 3. Henri J. Fayol มุ่งแสวงหาการบริหารงานที่มีลักษณะเป็นสากล (Universal) โดยแบ่งงานด้านอุตสาหกรรมเป็น 6 กลุ่ม ดังนี้ 1. Technical 2. Commercial 3. Financial 4. Security 5. Accounting 6. Managerial
ยุคที่ 2 Fayol ให้ความสนใจในกลุ่มที่ 6 เกี่ยวกับเรื่องการจัดการทั้งนี้เนื่องจากได้มีผู้กล่าวถึง 5 กลุ่มแรกกันมากแล้วและเขาก็ได้เน้นถึงคุณภาพของผู้จัดการที่ดีต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. ร่างกายที่แข็งแรง (มีสุขภาพอนามัยดี) 2. มีสติปัญญา (มีความสามารถเข้าใจ เรียนรู้ ริเริ่ม ตัดสินใจและปรับตัว) 3. มีจริยธรรม (มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ รู้จักกาลเทศะ จงรักภักดี) 4. มีการศึกษา (มีความรู้) 5. มีความสามารถและเทคนิควิธีการในการจัดการ 6. มีประสบการณ์
ยุคที่ 2 3. Henri J. Fayol ผู้บุกเบิกแนวความคิด การจัดการเชิงบริหาร(Administrative Management) I.หน้าที่ของนักบริหาร(Management Functions) II. หลักการบริหาร(Management Principles)
ยุคที่ 2 I. หน้าที่ของนักบริหาร (Management Functions) 1.การวางแผน (Planning) 2.การจัดองค์การ (Organizing) 3.การสั่งการ (Directing) 4.การประสานงาน (Coordinating) 5.การควบคุม (Controlling)
ยุคที่ 2 II. หลักการบริหาร (Management Principles) 1.การแบ่งงานกันทำ(Division of Work) 2.อำนาจหน้าที่(Authority) 3.มีระเบียบวินัย(Discipline) 4.เอกภาพในการบังคับบัญชา(Unity of Command) 5.เอกภาพในการสั่งการ(Unity of Directing) 6.ผลประโยชน์ส่วนบุคคลต้องเป็นรอง ผลประโยชน์ขององค์การ
ยุคที่ 2 II. หลักการบริหาร (Management Principles) 7.ผลตอบแทน (Remuneration) 8.การรวมอำนาจ(Centralization) 9.สายการบังคับบัญชา(Scalar Chain) 10.ความมีระเบียบเรียบร้อย(Order) 11.ความเสมอภาค(Equity) 12.ความมั่นคงในการทำงาน(Stability of Tenure) 13.ความคิดริเริ่ม (Initiative) 14.ความสามัคคี (Esprit de Corps)
ยุคที่ 3 ยุคที่ 3 แนวความคิดของมนุษย์สัมพันธ์ (Human Relations)
ยุคที่ 3 ยุคที่ 3: แนวความคิดมนุษยสัมพันธ์ (Human Relations) • ค.ศ. 1930 - 1950 • เน้นการสร้างมนุษยสัมพันธ์ ภายในองค์กร เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องแนวความคิดการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ที่เน้นแต่ ประสิทธิภาพการทำงาน • คนงานเป็นมนุษย์ที่มีชีวิต ไม่ใช่วัตถุดิบที่เจ้าของจะซื้อได้ด้วยเงิน
ยุคที่ 3 George Elton Mayo Mayo เป็นนักจิตวิทยาชาวออสเตรเลีย เริ่มงานวิชาชีพในการสอนจริยธรรม ปรัชญา และตรรกวิทยาที่มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์ ทำการทดลองที่โรงงาน “Hawthorne Experiment”
ยุคที่ 3 โดยแบ่งการศึกษาทดลองออกเป็น 3 ประเภทคือ 1. Room studies ทำการทดลองระหว่างปี ค.ศ. 1924 - 1927 2.Interviewing studies ทำการทดลองระหว่างปี ค.ศ. 1928 - 1931 3.Observational studies ทำการทดลองระหว่างปี ค.ศ. 1931 - 1932
ยุคที่ 3 • การศึกษาทดลองภายในห้อง • (Room studies) 1.1 การปรับสภาพความชื้นของอุณหภูมิในห้องให้มีสภาพต่างๆกัน 1.2 จัดให้ทำงานและหยุดเป็นระยะๆ 1.3 เปลี่ยนแปลงการทำงานไม่ให้ทำซ้ำๆซากๆในงานอย่างเดียวกัน นานๆ 1.4 เพิ่มค่าจ้างแรงงานเพื่อเป็นเครื่องจูงใจ 1.5 เปลี่ยนแปลงวิธีการควบคุมงาน
ยุคที่ 3 2. การศึกษาโดยการสัมภาษณ์ (Interviewing studies) การทดลองนี้ได้สัมภาษณ์คนงานในโรงงานรวม 2,000 คน จากทุกๆ แผนกของบริษัท ผล คือ ปัจจุบันโรงงานอุตสาหกรรมมักจะจัดให้มี โครงการที่ปรึกษาพนักงานเจ้าหน้าที่(Employee Counseling Program)
ยุคที่ 3 3. การศึกษาโดยการสังเกต (Observational studies) 1. คนงานมิใช่วัตถุหรือสิ่งของที่จะซื้อหามาด้วยเงิน 2. ประสิทธิภาพของการทำงานมิได้ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่ดี เพียงอย่างเดียว แต่ขึ้นอยู่กับมนุษยสัมพันธ์ที่ดีภายในองค์การ 3.การแบ่งงานกันทำตามลักษณะเฉพาะอย่าง(Specialization) มิได้ทำให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดเสมอไป 4. พนักงานในระดับสูง การจูงใจทางด้านจิตใจ (Mental Motivation) สำคัญกว่าเงิน
ยุคที่ 3 สรุปการศึกษาของเมโย ”เงิน” ไม่ใช่ปัจจัยที่สำคัญที่สุด Organization Without Man ยุคที่ 2 Man Without Organization ยุคที่ 3 ต่างก็มีข้อบกพร่องด้วยกันทั้งคู่
ยุคที่ 3 Mary Parker Follett กล่าวว่าในการจัดการหรือการบริหารงาน จำเป็นต้องมีการประสานงาน 4 ชนิด ดังต่อไปนี้ 1. การประสานงานโดยการติดต่อโดยตรงกับตัวบุคคลที่รับผิดชอบงานนั้น ๆ 2. การประสานงานในระยะเริ่มแรกหรือในขั้นวางแผนกิจกรรมต่างๆ 3. การประสานงานที่เป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันในกิจกรรมทุกอย่างที่กระทำ 4. การประสานงานที่กระทำเป็นกระบวนการต่อเนื่อง
ยุคที่ 3 Chester Irving Barnard เป็นบุคคลแรกที่เขียนเกี่ยวกับความ สัมพันธ์ระหว่างวัตถุประสงค์ของตัวบุคคล และวัตถุ ประสงค์ขององค์การ เขาเห็นว่าความต้องการเป็นรากฐานของการทำงาน ผู้บริหารที่ดี ต้องตอบสนองได้ทั้งวัตถุประสงค์ของคนและองค์การ
ยุคที่ 3 AbrahamHarold Maslow อธิบายได้ว่าเมื่อความต้องการนั้นได้รับการตอบสนองแล้ว ความต้องการของมนุษย์ ก็จะเลื่อนขึ้นไปอีกเป็นขั้นๆ ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์ (Hierarchy of needs theory)