220 likes | 542 Views
สังคมผู้สูงอายุและบทบาทของธุรกิจประกันภัย ( Aging Society and Insurance Industry ). ความสำเร็จของนโยบายการวางแผนประชากรที่ทำให้อัตราเจริญพันธุ์ลดลง ผลสำเร็จของการพัฒนาสาธารณสุขที่สามารถลดอัตราการเสียชีวิตของมารดาและทารก
E N D
สังคมผู้สูงอายุและบทบาทของธุรกิจประกันภัย(Aging Society and Insurance Industry) ความสำเร็จของนโยบายการวางแผนประชากรที่ทำให้อัตราเจริญพันธุ์ลดลง ผลสำเร็จของการพัฒนาสาธารณสุขที่สามารถลดอัตราการเสียชีวิตของมารดาและทารก ผลสำเร็จของการส่งเสริมสุขภาพและความเจริญก้าวหน้าของการรักษาพยาบาลที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดีขึ้น ส่งผลให้โครงสร้างของประชากรเปลี่ยนไป (Demographic Change) การเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากรไทยและประชากรโลก
โครงสร้างประชากรโลกและประชากรไทย 2543 - 2568หน่วย : พันคน
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรไทย 2558 - 2578หน่วย : พันคน อายุ
Thailand Population Pyramid for 1990 Age and sex distribution for the year 1990:
Thailand Population Pyramid for 2000 Age and sex distribution for the year 2000:
Thailand Population Pyramid for 2010 Age and sex distribution for the year 2010:
Thailand Population Pyramid for 2020 Predicted age and sex distribution for the year 2020:
Thailand Population Pyramid for 2050 Predicted age and sex distribution for the year 2050:
จำนวนประชากรวัยต่างๆ ตั้งแต่ พ.ศ. 2548 – 2578
ประชากรไทยในอนาคต สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ทำการคาดประมาณประชากรในอนาคต คือ ตั้งแต่ช่วงปีพ.ศ.2548 - พ.ศ.2578 โดยคำนวณจาก “ประชากรฐาน” คือ ประชากรปี พ.ศ. 2548
วิธีคาดประมาณประชากรตามหลักโคฮอท(Cohort-component method) หลักการของวิธีนี้ คือ จำนวนประชากรแต่ละรุ่นอายุจะเปลี่ยนไปด้วยองค์ประกอบ 3 ด้าน อันได้แก่ - การเกิด - การตาย - การย้ายถิ่น 71
การเกิด ตารางเปรียบเทียบจำนวนบุตรต่อสตรี 1 คนและช่วงอายุของสตรีที่ตั้งครรภ์
การตายตารางเปรียบเทียบอายุขัยเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดของชายและหญิง ระหว่างปี 2548 และ ปี 2598
การย้ายถิ่น การย้ายถิ่นระหว่างประเทศที่ถูกต้องตามกฎหมายของประชากรไทยมีน้อยมากจนไม่ส่งผลกระทบต่อจำนวนและโครงสร้างประชากรมากนัก 74
รูปแบบการพึ่งพิงที่เปลี่ยนแปลงไป การแสดงระดับของการพึ่งพิงระหว่างประชากรกลุ่มอายุต่าง ๆ นิยมใช้ดัชนีที่เรียกว่า “อัตราส่วนพึ่งพิง” (Dependency ratio) เป็นตัวชี้วัด อัตราส่วนพึ่งพิง คือ อัตราส่วนระหว่างประชากรเด็กและประชากรสูงอายุต่อประชากรวัยทำงาน
อัตราส่วนพึ่งพิงยังสามารถจำแนกตามประเภทของผู้ที่ต้องพึ่งพิงเป็น2 ประเภทคือ -อัตราส่วนพึ่งพิงวัยเด็ก (Youth dependency) -อัตราส่วนพึ่งพิงวัยชรา (Old-age dependency ratio) จากตารางจะพบว่าอัตราส่วนพึ่งพิงวัยเด็กได้ลดลงอย่างมากและต่อเนื่องตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 จนถึงพ.ศ.2578 ในขณะที่อัตราส่วนพึ่งพิงวัยชราได้เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงเวลาเดียวกัน
ตาราง 1 ดัชนีผู้สูงอายุของประเทศไทย พ.ศ. 2548 – 2578
ตาราง 2 อัตราส่วนพึ่งพิงรวม อัตราส่วนพึ่งพิงวัยเด็ก และอัตราส่วน พึ่งพิงวัยชรา พ.ศ. 2503 – 2578 หมายเหตุ: อัตราส่วนพึ่งพิงของปี พ.ศ. 2503 – 2543 คำนวณจากสำมะโนประชากร และของปี พ.ศ. 2548 – 2578 คำนวณจากการฉายภาพประชากร
ตารางแสดงการเปรียบเทียบอัตราส่วนค้ำจุนผู้สูงอายุตารางแสดงการเปรียบเทียบอัตราส่วนค้ำจุนผู้สูงอายุ
อัตราส่วนค้ำจุนผู้สูงอายุของประเทศไทย พ.ศ. 2503 – 2578
การออมเพื่อวัยเกษียณ ความเสี่ยงที่จะมีอายุยืนยาว(Longevity Risk) ซึ่งความเสี่ยงดังกล่าวจะส่งผลกระทบหากไม่สามารถมีรายได้ที่เพียงพอในการดำรงชีพ ค่ารักษาพยาบาล ค่าอาหาร ที่อยู่อาศัย เป็นต้น การออมมี 2ประเภท 1. การออมภาคบังคับ 2. การออมภาคสมัครใจ