1 / 17

การคลังสาธารณะ( Public Finance )

การคลังสาธารณะ( Public Finance ). เป็นการคลังภาครัฐบาล หมายถึงการบริหารจัดการการเงินของรัฐ ทั้งด้านรายรับและรายจ่ายเป็นเศรษฐกิจภาครัฐที่เกี่ยวกับการหารายได้ เพื่อนำมาใช้จ่ายในการพัฒนาประเทศด้านต่างๆในระยะเวลา 1 ปี. 1. การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ. เป้าหมายทางเศรษฐกิจในการบริหารการคลัง.

kamana
Download Presentation

การคลังสาธารณะ( Public Finance )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การคลังสาธารณะ(Public Finance) เป็นการคลังภาครัฐบาล หมายถึงการบริหารจัดการการเงินของรัฐ ทั้งด้านรายรับและรายจ่ายเป็นเศรษฐกิจภาครัฐที่เกี่ยวกับการหารายได้ เพื่อนำมาใช้จ่ายในการพัฒนาประเทศด้านต่างๆในระยะเวลา 1 ปี

  2. 1. การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เป้าหมายทางเศรษฐกิจในการบริหารการคลัง 2. การกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน 3. การจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ 4. การมีเสถียรภาพของราคา เพื่อรักษาระดับราคาสินค้าและบริการให้มีความมั่นคงไม่เปลี่ยนแปลงง่าย

  3. ขอบเขตของการศึกษาการคลังขอบเขตของการศึกษาการคลัง 1. รายรับรายจ่ายของรัฐบาล(Government Budget) 2. งบประมาณแผ่นดิน(Government Revenue) 3. นโยบายการคลังและระบบภาษี(GovernmentExpendituer) 4. หนี้สาธารณะ(Public Debt)

  4. 1. รายรับรัฐบาล   มาจากรายได้ในรูปภาษีอากร โดยเก็บจากผู้มีเงินได้ (ภาษีทางตรง) เก็บจากสินค้าและบริการ (ภาษีทางอ้อม), การขายสิ่งของและบริการ รายได้จากรัฐพาณิชย์ เงินกู้ (หนี้สาธารณะ) และเงินคงคลัง รายรับและรายจ่ายของรัฐบาล 2.รายจ่ายรัฐบาล   รัฐใช้เงินในรูปของเงิน งบประมาณ แจกจ่ายไปยังหน่วยงานต่าง ๆ

  5. งบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ2555 เริ่มเมื่อ 1 ต.ค.54 จนถึง 30 ก.ย.55 ของปีถัดไป เป็นแผนการใช้จ่ายของรัฐในแต่ละปี

  6. ประเภทงบประมาณแผ่นดินประเภทงบประมาณแผ่นดิน 2. งบประมาณขาดดุล( Deficit Budget) 1. งบประมาณเกินดุล( Surplus Budget) 3. งบประมาณสมดุล( Balance Budget)

  7. นโยบายการค้า 2. การค้าแบบคุ้มกัน มีการตั้งกำแพงภาษี, ไม่ให้สิทธิพิเศษ, ห้ามนำเข้า ห้ามส่งสินค้า บางชนิดออก ให้อุดหนุนเพื่อผลิตแข่งกับ ต่างประเทศ 1. การค้าแบบเสรี ไม่มีการเก็บภาษีคุ้มกัน, ไม่ให้สิทธิพิเศษ ไม่มีข้อจำกัดทางการค้า

  8. ดุลการค้า คือการเปรียบเทียบมูลค่าสินค้าขาออกและมูลค่าสินค้าขาเข้า ในรอบ 1 ปี แบ่งเป็นดุลการค้าขาดดุล, ดุลการค้าเกินดุล และดุลการค้าสมดุล

  9. เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ การค้าระหว่างประเทศ เป็นการนำสินค้าและบริการไปแลกเปลี่ยนกับอีกประเทศหนึ่ง เนื่องจากความแตกต่างกันทางทรัพยากรและความสามารถในการผลิต

  10. 2. ใช้ระบบภาษีศุลกากรพิกัดอัตราเดียว ลักษณะการค้าระหว่างประเทศของไทย 3. ประเทศคู่ค้าสำคัญคือ ญี่ปุ่น, สหรัฐอเมริกา, ซาอุดิอาระเบีย 1. ใช้นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน 4. สินค้าออก ส่วนใหญ่คือ สินค้าจากภาคเกษตรกรรม 5. สินค้าเข้า เป็นสินค้าอุตสาหกรรม เครื่องจักร และ เชื้อเพลิง

  11. 2. ชักชวนชาวต่างชาติมาท่องเที่ยว การแก้ไขดุลการชำระเงินขาดดุล 3. ส่งเสริมการส่งออกมากขึ้น 4. ลดบริโภคสินค้าฟุ่มเฟือย 1. ลดการส่งสินค้าเข้า

  12. บัญชีดุลการค้าชำระเงินระหว่างประเทศบัญชีดุลการค้าชำระเงินระหว่างประเทศ 2.บัญชีเงินทุนเคลื่อนย้าย เป็นการเคลื่อนย้ายทุนระหว่างประเทศรวมถึงเงินกู้ 1.บัญชีเดินสะพัด เป็นบัญชีรวมดุลการค้าและดุลบริการ 3.บัญชีเงินโอนและเงินบริจาค เป็นเงินช่วยเหลือระหว่างประเทศ 4. บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ เป็นบัญชีบอกจำนวนเงินสำรองระหว่างประเทศ และชี้ให้เห็นฐานะของดุลการชำระเงินของประเทศ

  13. 1. ดุลการชำระเงินนั้นรวมรายจ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับประเทศทั้งหมดทั้งที่เป็นรายรับ รายจ่ายจากสินค้าและบริการ เงินลงทุน เงินกู้ เงินบริจาค ข้อเปรียบเทียบระหว่างดุลการค้ากับดุลการชำระเงิน 2. ดุลการค้า หมายถึง ส่วนต่างของสินค้าเข้าและสินค้า ออก โดยดุลการค้าเป็นเพียงส่วนหนึ่งของดุลการชำระเงิน 3. บางประเทศอาจมีการค้าขาดดุล แต่มีดุลการชำระเงินเกินดุลก็ได้

  14. คือ ทรัพย์สินของประเทศที่เป็นทองคำและเงินตราต่างประเทศสกุลสำคัญ เช่น เงินดอลลาร์สหรัฐ หรือปอนด์สเตอริง เงินสำรองระหว่างประเทศมีประโยชน์คือ ทุนสำรองระหว่างประเทศ 1. ใช้เป็นทุนสำรองเงินตราส่วนหนึ่ง 2. ใช้เป็นทุนหมุนเวียนสำหรับชำระเงินให้กับต่างประเทศ 3. ใช้เป็นทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราประเทศส่วนหนึ่ง เพื่อให้มีเสถียรภาพมั่นคง

  15. เป็นการที่รัฐบาลหรือเอกชนของประเทศหนึ่งนำเงินไปลงทุนดำเนินธุรกิจ เพื่อแสวงหาผลกำไร สาเหตุของการลงทุนระหว่างประเทศเพื่อต้องการขยายการผลิตและการลดต้นทุน การลงทุนระหว่างประเทศ

  16. 1. ประเทศกำลังพัฒนา ได้เรียนรู้วิทยาการ เทคโนโลยีใหม่ ๆ ผลที่เกิด 2. ประเทศกำลังพัฒนา มีการว่าจ้างงานมากขึ้น 3. เกิดการเอาเปรียบประเทศที่รับการลงทุน 4. อาจก่อความขัดแย้งระหว่างประเทศได้

  17. จบ

More Related