1 / 40

IS638 การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้วยวิธี Outsourcing

IS638 การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้วยวิธี Outsourcing. Asst.Prof . Dr.Surasak Mungsing Information Science Institute of Sripatum University. ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการจัดหาระบบสารนเทศ. - การสร้างต้นแบบ ( Prototyping) - Repid Application Development (RAD)

kameko-best
Download Presentation

IS638 การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้วยวิธี Outsourcing

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. IS638 การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้วยวิธีOutsourcing Asst.Prof. Dr.SurasakMungsing Information Science Institute of Sripatum University

  2. ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการจัดหาระบบสารนเทศข้อพิจารณาเกี่ยวกับการจัดหาระบบสารนเทศ • - การสร้างต้นแบบ (Prototyping) • - Repid Application Development (RAD) • - End – User Systems Development Life Cycle • - Outsourcing • The Capability Maturity Model (CMM)

  3. การสร้างต้นแบบ Prototyping แบ่งออกเป็น 2 แบบ 1. Operational Prototype 2. Nonoperational Prototype

  4. กำหนดความต้องการ ออกแบบต้นแบบ นำต้นแบบไปใช้ ปรับแต่งต้นแบบ ต้นแบบที่สมบูรณ์ กระบวนการสร้างต้นแบบ (Prototype Process)

  5. เครื่องมือการพัฒนาต้นแบบ (Prototyping Tools)

  6. ข้อดีของการพัฒนาต้นแบบข้อดีของการพัฒนาต้นแบบ • สามารถหลีกเลี่ยงการเข้าใจผิดระหว่างผู้ใช้และผู้พัฒนา • นักพัฒนาสามารถสร้างข้อกำหนดสำหรับระบบที่ต้องการได้ถูกต้องแม่นยำ • ผู้จัดการระบบสามารถประเมินแบบจำลองที่ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าข้อกำหนดที่เขียนเป็นเอกสาร • นักวิเคราะห์ระบบสามารถใช้ตัวต้นแบบในการพัฒนาการทดสอบ การฝึกอบรม ก่อนที่ระบบจริงจะเสร็จสมบูรณ์และพร้อมใช้งาน • ลดความเสี่ยงในความล้มเหลวการพัฒนาระบบได้

  7. Rapid Application Development (RAD)- พัฒนาขึ้น ค.ศ.1990- นำจุดอ่อนของระบบ SSADM

  8. ขั้นตอนการทำงานของวงจรการพัฒนาแบบ RAD 1. การกำหนดความต้องการ 2. การออกแบบโดยผู้ใช้ 3. การสร้างระบบ 4. การเปลี่ยนระบบ

  9. ขั้นตอนการทำงานของวงจรการพัฒนาแบบ RAD

  10. Project Identification and Selection Planning Project Initiation and Planning Analysis Design Logical Design Development Physical Design Implementation Cutover Maintenance การพัฒนาระบบ (SDLC) สู่การพัฒนาแบบ RAD

  11. Extreme Programming (XP)-กำเนิดขึ้น ค.ศ. 1996- โดย Kent Beck- แตกต่างจากระบบอื่น คือ เน้นการมีส่วนร่วมของผู้จัดการ ลูกค้า และผู้พัฒนาซอฟแวร์ - จิกซอ

  12. Extreme Programming (XP) ปรัชญาของ XP 1. Communication 2. Simple 3. Feedback 4. Courage

  13. ตัวอย่าง Extreme Programming (XP)

  14. Joint Application Development (JAD)

  15. ผู้เข้าร่วมการดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยเทคนิค JAD • JAD Session Leader • Users • 3. Manager • 4. Sponsor • 5. System Analyst • 6. Scribe • 7. IS Staff

  16. End-User Systems Development Life Cycle - เป็นการพัฒนาระบบสารสนเทศโดยผู้ใช้ ซึ่งอาศัยความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญน้อยมากหรือไม่ได้ใช้เลย - วิธีนี้มีความเป็นไปได้เนื่องจากความก้าวหน้าของโปรแกรมสำเร็จรูป - ทำให้ผู้ใช้สามารถพัฒนาระบบขึ้นมาด้วยตนเอง

  17. สาเหตุของ End-User Development • คอมพิวเตอร์มีความสามารถมากขึ้น • ราคาคอมพิวเตอร์ถูกลง • ซอฟต์แวร์มีความสามารถและมีให้เลือกมากขึ้น • การพัฒนาระบบทำได้ง่ายและเร็วขึ้น • ผู้ใช้งานมีความรู้มากขึ้น • หน่วยงานสารสนเทศไม่สามารถพัฒนาระบบได้ทันกับความต้องการ • ความต้องการส่วนใหญ่เป็นงานด้านธุรกิจซึ่งผู้ใช้มีความรู้มากกว่า • ส่วนใหญ่เป็นระบบเฉพาะและมีขนาดเล็ก • ผู้ใช้ต้องการควบคุมระบบเอง • ถูกกว่าวิธี SDLC

  18. ปัญหาและวิธีแก้ไขของ End-User Development • การไม่มีมาตรฐานของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่นำมาใช้ • การที่ระบบถูกแบ่งเป็นระบบย่อยที่ไม่สามารถเชื่อมต่อกันได้ • การสิ้นเปลืองงบประมาณในการจัดหาฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ แยกกัน • ความไม่สมบูรณ์ของระบบที่พัฒนาขึ้นมาใช้งาน

  19. วิธีการแก้ปัญหา • Coordination • Support • Evaluation

  20. ข้อดีของการพัฒนาระบบแบบ End-User • ประสิทธิภาพในการทำงานสูงขึ้น • การศึกษาหาความต้องการของผู้ใช้จะทำได้ดีขึ้น • ผู้ใช้ระบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบมากขึ้น

  21. ข้อจำกัดของการพัฒนาระบบแบบ End-User • โปรแกรมสำเร็จรูปหรือภาษายุคที่ 4 ยังไม่สามารถแทนที่ภาษาโปรแกรมเดิมได้ • ในกรณีที่งานมีความซับซ้อนและต้องใช้ข้อมูลจำนวนมาก

  22. ที่มาของแนวคิดเกี่ยวกับการจ้างบริษัทภายนอกสำหรับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Outsourcing) • ความสนใจในเรื่องการจัดการเกี่ยวกับต้นทุนและคุณภาพ • ความเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี • การใช้เทคโนโลยีเฉพาะทางและทักษะเฉพาะด้าน • ความกดดันจากผู้ขาย • ปัจจัยทางการเงิน

  23. ความหมายของการจ้างบริษัทจากภายนอกสำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของการจ้างบริษัทจากภายนอกสำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ • การจ้างบริษัทจากภายนอกสำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ คือการว่าจ้างกลุ่มบุคคลากรหรือหน่วยงานภายนอกที่มีความรู้ความสามารถมาให้บริการต่างๆทางด้านระบบสารสนเทศตามที่องค์กรว่าจ้างต้องการ โดยการมอบหมายภาระงาน และความรับผิดชอบทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับบริการนั้นๆ ไปให้กับแหล่งภายนอก เช่น การจัดหาและดำเนินการประมวลผล การจัดการ การบำรุงรักษา เป็นต้น

  24. เหตุผลในการใช้บริการจากภายใน(Internal Resources) • เพื่อสงวนรักษาบุคคลากรที่มีทักษะที่สามารถตอบสนองความต้องการโดยตรงขององค์กรไว้ • เพื่อให้ได้รับการบริการที่จำเป็นและมีค่าใช้จ่ายต่ำ • เพื่อนำทักษะและความเชี่ยวชาญของบุคคลากรที่มีอยู่มาเป็นประโยชน์เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร • เพื่อให้มีกรรมสิทธิ์และการบริหารทรัพยากรและบุคลากรอย่างเต็มที่

  25. การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์(Cost-Benefit)การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์(Cost-Benefit) เมื่อทราบความต้องการและเป้าหมายของการดำเนินการแล้ว ควรจะต้องทำการวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ (Cost-Benefit)อย่างละเอียด ระบุต้นทุนและกำไรของการดำเนินงาน โดยใช้สารสนเทศจากทั้งแหล่งภายในและภายนอก เพื่อให้มีการเปรียบเทียบได้อย่างมีประสิทธิภาพและสมเหตุสมผล

  26. ทางเลือกของการจ้างบริษัทจากภายนอกทางเลือกของการจ้างบริษัทจากภายนอก มีอยู่ 2 ทางเลือก การจ้างงานจากผู้ให้บริการภายนอกทั้งหมด (Total Outsourcing) การจ้างงานจากผู้ให้บริการภายนอกเพียงบางเรื่อง (Selective Outsourcing)

  27. มูลเหตุจูงใจในการตัดสินใจจ้างแบบ Outsourcing มูลเหตุจูงใจ • ด้านเทคโนโลยี • ด้านการเงิน • ด้านการจัดการ

  28. ระบบสารสนเทศที่ไม่ควรใช้วิธีจ้างงานจากภายนอกระบบสารสนเทศที่ไม่ควรใช้วิธีจ้างงานจากภายนอก • ระบบงานที่ยากต่อการลอกเลียนหรือถ่ายโอนไปให้ผู้อื่น • ระบบงานที่เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ประสบความสำเร็จในธุรกิจ • ระบบงานมีองค์ประกอบที่ทำให้มีข้อได้เปรียบในการแข่งขัน

  29. ระบบสารสนเทศประเภทใดที่ควรใช้วิธีจ้างแบบ Outsourcing • เป็นระบบที่มิได้ส่งผลกระทบต่อการแข่งขันขององค์กร • เป็นระบบที่มีความเป็นมาตรฐานสูง • เป็นระบบที่อิสระไม่เกี่ยวพันกับงานระบบอื่นๆ • ถ้าเกิดขัดข้องจากแหล่งภายนอกแล้ว จะไม่ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงกับองค์กร

  30. ปัจจัยสู่ความสำเร็จ • ควรกระทำโดยการใช้กระบวนการในการตัดสินใจอย่างระมัดระวัง • ต้องพิจารณาเลือกระบบงานและเลือกผู้ให้บริการที่เหมาะสมที่สุดสำหรับองค์กรโดยไม่ขึ้นกับองค์กรอื่น • ต้องทำความเข้าใจสภาพการขององค์กรเอง

  31. ความล้มเหลวในการจ้างงานจากภายนอกสำหรับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศความล้มเหลวในการจ้างงานจากภายนอกสำหรับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ • ผู้บริหารไม่เข้าใจเทคโนโลยีที่จะต้องบริหาร • องค์กรไม่สามารถระบุความต้องการต่อระบบงานที่แท้จริงออกมาได้ทั้งหมด • ความสามารถด้านการเจรจาต่อรองและการพิจารณาเนื้อหาในสัญญาว่าจ้าง • ความสามารถด้านการประสานงานกับผู้ให้บริการ

  32. ขั้นตอนในการจัดจ้างแบบ Outsourcing 1. จัดตั้งคณะทำงานกับแหล่ง Outsource 2. ระบุข้อกำหนดความต้องการใช้บริการที่แท้จริง 3. ดำเนินการจัดทำเอกสารเชิญชวนยื่นข้อเสนอ 4. ประเมินข้อเสนอ 5. ประเมินผู้เสนอให้บริการ 6. เจรจาต่อรองในการทำสัญญา

  33. ลักษณะของเอาต์ซอร์สในปัจจุบันลักษณะของเอาต์ซอร์สในปัจจุบัน

  34. -สถาบัน SEI แห่ง ม.คาร์เนกี เมลลอน สหรัฐฯ - พัฒนาให้แก่ กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ

  35. The Capability Maturity Model(CCM) • สถาบัน SEI แห่ง ม.คาร์เนกี เมลลอน สหรัฐฯ • พัฒนาให้แก่ กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ

  36. The Capability Maturity Model (CMM)

  37. ประโยชน์ของ CMM ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ • การทำงานเป็นระบบมากขึ้น • การทำงานทุกอย่างมีร่องรอยหรือหลักฐาน • ให้ตรวจสอบได้ง่ายขึ้นและสมบูรณ์มากขึ้น • มีการจดบันทึกรายละเอียดระหว่างการทำงานมากขึ้น • การเจรจากับลูกค้าก็มีการบันทึกเป็นหลักฐานและมีการ • ยืนยันทำความเข้าใจระหว่างกันมากขึ้น • * บริษัทจะมีวัฒนธรรมการทำงานที่เป็นแบบเดียวกัน

  38. CMM ในประเทศไทย • เขตอุตสาหกรรมซอฟแวร์แห่งประเทศไทย หรือ Software Park นำมาเผยแพร่ • พัฒนาอาจารย์ผู้สอน รวมทั้งฝึกอบรมอาจารย์ให้เป็น Authorized Lead Assessor ทั้งหมด 6 คนได้แก่ ศ.ดร.ครรชิต มาลัยวงศ์ (ช่วงระยะเวลา 4 ปี)

  39. ผู้ประกอบการซอฟแวร์ได้รับมาตรฐานประเภท CMMสำรวจตั้งแต่ปี พ.ศ.2542 • CMM ระดับ 2 จำนวน 14 บริษัท • CMM ระดับ 3 จำนวน 4 บริษัท • CMM ระดับ 4 จำนวน 1 บริษัท * CMMI ระดับ 2 จำนวน 1 บริษัท เช่นบริษัท C.S.I.(Thailand) Co.,Ltd. * CMMI ระดับ 5 จำนวน 1 บริษัท เช่นบริษัท Reuters Softwere (Thailand) Limited

More Related