1 / 29

การอ้างอิงแหล่งข้อมูล Cited & Reference

การอ้างอิงแหล่งข้อมูล Cited & Reference. โดย...รุจิรดา ระวีศรี. การอ้างอิงแหล่งข้อมูล.

Download Presentation

การอ้างอิงแหล่งข้อมูล Cited & Reference

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การอ้างอิงแหล่งข้อมูลCited &Reference โดย...รุจิรดา ระวีศรี

  2. การอ้างอิงแหล่งข้อมูลการอ้างอิงแหล่งข้อมูล การอางอิงในสวนเนื้อหา คือ การระบุแหลงที่มาของ ขอมูลที่ผูเขียนนํามาประกอบในงานเขียนทางวิชาการ มีหลักการสําคัญคือ ใหทราบวาขอมูลนั้น ๆ มาจากแหลงใดและใหรายละเอียดเกี่ยวกับแหลงขอมูลใหมากพอที่ผูสนใจจะไปติดตามคนควาเพิ่มเติมได โดยทุกรายการอ้างอิงที่ปรากฏในเนื้อหา จะต้องปรากฎในรายการอ้างอิงทุกรายการเช่นกัน โดยจะมี 2 ส่วนดังนี้ ส่วนที่ 1 อ้างอิงในเนื้อหา ส่วนที่ 2 รายการอ้างอิง (ท้ายเล่ม)

  3. ส่วนที่ 1 การเขียนอ้างอิงในเนื้อหา (Cited) การอางอิงแหลงขอมูลในเนื้อหา มหาวิทยาลัยแมฟาหลวงกําหนดใหนักศึกษาสามารถเลือกใชวิธีการอางอิงในเนื้อหาแบบใดแบบหนึ่งได จาก 2 รูปแบบ 1) การอางอิงแบบนามป หรือ 2) การอางอิงแบบตัวเลข 1. การอางอิงแบบนามป คือการอางอิงโดยระบุชื่อผูแตง และปที่พิมพเอกสาร ไวในเนื้อหาที่ตองการอาง เพื่อบอกแหลงที่มาของขอความ และอาจระบุเลขหนาของเอกสารที่นํามาอางไวดวยก็ไดมีรูปแบบวิธีการอางอิง3 แบบ ดังนี้ 1) ระบุชื่อผูเขียน นามสกุล และปพิมพไวในวงเล็บทายขอความระหวางชื่อผูเขียน และปพิมพ มีเครื่องหมายจุลภาคคั่น 2) ระบุชื่อผูเขียนไวเปนสวนหนึ่งของเนื้อความ สวนปพิมพใสวงเล็บ 3) ระบุชื่อผูเขียนและปพิมพไวเปนสวนหนึ่งของเนื้อความ

  4. ตัวอย่างแบบที่ 1 ประวัติศาสตรการสถาปนาแนวความคิดสิทธิมนุษยชนบนโลกนี้ คือ การประกาศวาสิทธิมนุษยชน คือพื้นฐานอันชอบธรรมขั้นสูงสุดสําหรับชุมชนมนุษย หรือคือ หลักการสากลที่มนุษยพึงเคารพ เพราะสิทธิในความเปนมนุษยยอมเปน สิทธิทางธรรมขั้นสูงสุดในการดํารงอยู สิทธิเปนจุดเชื่อมระหวางบุคคลกับสวนรวมเพื่อการพัฒนาชีวิต ทั้งสวนบุคคลและสวนรวม (เฉลิมเกียรติ ผิวนวล, 2530) In the mid 1990s, Japanese manufacturers in international business played a larger role incorporating CSR to Japanese business community (Tanimoto, 2006). However, cultural norms operating in Japanese business appeared to invite “unintended and serious implications for the effects of some CSR activities” (Higgins & Debroux, 2009, p. 127).

  5. ตัวอย่างแบบที่ 2 พนัส หันนาคินทร (2524) อธิบายความหมายของการปกครองบังคับบัญชาวา หมายถึงกิจกรรมที่ผูบังคับบัญชาจะตองกระทําตอผูใตบังคับบัญชาอยูเสมอ เชน การแนะนําใหคําปรึกษาหารือคอยชวยเหลือและแกปญหาดวยวิธีตาง ๆ มิใชคอยจับผิดเปนตน พนัส หันนาคินทร กลาวเพิ่มเติมวาการปกครองบังคับบัญชาที่ดีนั้น ผูบังคับบัญชาควรทรงไวซึ่งความยุติธรรม รูจักผอนหนักผอนเบา มีความเปนกันเอง สงเสริมและใหกําลังใจแกผูใตบังคับบัญชาตลอดจนมีการกําหนดมาตรฐานในการทํางานที่แนชัดใหแกผูใตบังคับบัญชา ซึ่งกอใหเกิดความรวมมือและเต็มใจในการทํางาน Wokutch (1990) studied the early stages of CSR management of Japanese companies operating in the United States. He pointed out cultural values such as group harmony, confucianism and loyalty that helped companies develop cooperative relationships with stakeholders such as employees and authoritative agencies

  6. ตัวอย่างแบบที่ 3 ใน ป พ.ศ. 2519 สําลีใจดี และดารารัตน์ อักษรไดทําการเก็บขอมูลการใชยาของประชาชน 236 หลังคาเรือนใน 8 หมูบานที่อยู 6 ตําบล ของอําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี ระหวางเดือนเมษายน ถึงเดือนกรกฎาคม 2519 พบว่า........

  7. ส่วนที่ 1 การเขียนอ้างอิงในเนื้อหา (Cited) -ต่อ 2. การอางอิงตัวเลข การอางอิงโดยระบุหมายเลข เปนการอางโดยระบุหมายเลขของเอกสารที่ตองการอางไวในเนื้อหาที่ตองการอางอิง เพื่อบอกแหลงที่มาของขอความ 1. โดยใสหมายเลขไวในวงเล็บเหลี่ยม ( [ ] ) เริ่มจากหมายเลข 1, 2, 3 . . . ไปตามลําดับจนจบเลม 2. หากมีการอางซ้ำก็ใหอางหมายเลขเดิมซ้ำไดอีก 3. รายการอางอิงทายเลมก็ใหจัดเรียงตามลําดับการอางอิงในเนื้อหา โดยไม ตองเรียงลําดับอักษร

  8. ตัวอย่างการอ้างอิงตัวเลข ในเนื้อเรื่อง (ภาษาไทย) การศึกษาเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับทุกคนและทุกฝาย การรวมพลังจากบุคคล ตาง ๆ ในสังคมรวมแสดงความคิดเห็น [1] และกําหนดทิศทางในการพัฒนาการศึกษาใหสอดคลองกับสถานการณที่เปลี่ยนไปสถานศึกษากับชุมชนนั้นมีความสัมพันธกันมาตั้งแตอดีต [2]แมแตในปจจุบันก็ยังคงมีการพึ่งพาซึ่งกันและกันอีกทั้งจะตองประสานรวมมือกัน จึงจะทําใหปรัชญาของการศึกษาบรรลุเปาหมาย[3, 4]

  9. ตัวอยางรายการอางอิงทายเลมตัวอยางรายการอางอิงทายเลม [1] Odden, E. R. & Wohlstetter. (1995). Marking school-based management work. Educational Leadership, 54(7), 2425-A. [2] ภิญโญ สาธร. (2526). หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ:คุรุสภาลาดพราว. [3] กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พุทธศักราช 2546. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพราว. [4] ประจวบ สื่อประสาร. (2542). การมีสวนรวมในการบริหารการศึกษาของ คณะกรรมการโรงเรียนขยายโอกาสในเขตการศึกษา 1.วิทยานิพนธศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.

  10. ตัวอย่างการอ้างอิงตัวเลข ในเนื้อเรื่อง (ภาษาอังกฤษ) Nothing seemed so certain as the results of the early studies [1]. It was precisely this level of apparent certainty, however, which led to a number of subsequent challenges to the techniques used to process the data [2]. There were a number of fairly obvious flaws in the data's aspect: consistencies and regularities that seemed most irregular, upon close scrutiny [1,2]. References[1] Jones, M. R. (1990). Cooking the data?. Science News, 8, 878-891.[2] Smith, J. P. (1989). Studying certainty. Science and Culture, 9(1989), 442-463.

  11. ส่วนที่ 2 รายการอ้างอิง (References) รูปแบบของรายการอ้างอิงและบรรณานุกรมจะมีความแตกต่างกันในแต่ละสาขาวิชา เรียกว่าเป็น รูปแบบการอ้างอิง (citation style) เช่น APA, AMA, MLA, Vancouver มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้กำหนดให้ใช้รูปแบบ APA (American Psychological Association)เป็นรูปแบบการเขียนอ้างอิงผลงานวิชาการของมหาวิทยาลัย ได้แก่ ดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ การศึกษาโดยอิสระ (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ ส่วนบัณฑิตศึกษา http://www.mfu.ac.th/division/graduate/ThesisManual.html

  12. ประเภทสิ่งพิมพ์ • หนังสือ (Book) • วิจัย วิทยานิพนธ์ การศึกษาโดยอิสระ (Research, Thesis, Independent Study) • บทความ วารสาร นิตยสาร (Article) • หนังสือพิมพ์ (Newspaper) • เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Document) (eBooks, eJournals, eTheses, Articles)

  13. 1. หนังสือ(Book) แบบแผน ผู้แต่ง./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่อง/(ครั้งที่พิมพ์)./สถานที่พิมพ์:/สำนักพิมพ์. รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมหนังสือ รายละเอียดทางบรรณานุกรมของหนังสือ ไดแก 1. ชื่อผูแตง (Author) 2. ปที่พิมพ (Year) 3. ชื่อเรื่อง (ใชตัวอักษรแบบเอียง ไมหนา) (Title) 4. ครั้งที่พิมพ (ใสครั้งที่พิมพตั้งแต พิมพครั้งที่ 2 เปนตนไป) (Edition) 5. เมืองที่พิมพ (Place) 6. สํานักพิมพ (Publisher)

  14. ตัวอย่างภาษาไทย ชลอ วองวัฒนาภิกุล. (2540). สารานุกรมกฎหมายแพงและพาณิชย-วางทรัพย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิศาสตราจารย ดร. อุกฤษ มงคลนาวิน. นิวัติ พลนิกร. (2547). เลเซอร์ในเวชสำอาง (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โฮลิสติก พับลิชชิ่ง. ปรียา กุลละวณิชย์และประวิตร พิศาลบุตร (บรรณาธิการ). (2548). ตำราโรคผิวหนัง ในเวชปฏิบัติปัจจุบัน (Dermatology 2010). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. พิมพร ลีลาพรพิสิฐ. (2534).อิมัลชั่นทางเครื่องสำอาง. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัย เชียงใหม่. อานันทชนก พานิชพัฒน, ม.ล. (2539). ภาพพจนในโศกนาฏกรรมของเชคสเปยร. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

  15. ตัวอย่างภาษาอังกฤษ Arnold, H., Odom, R. B. & James, W. D. (Eds.). (1990). Andrew’s diseases of the skin : Clinical dermatology(8th ed.). Philadelphia: WB Saunders. Hasbrouck, J. (2007). Empirical market microstructure. New York: Oxford University Press. Jaen, L. B., Joseph. L. J. & Ronald, P .R. (n.d.). Dermatology : Volume1 Disorder of hyperpigmentation(2nd ed.). New York: Columbia University. Loden, M. & Maibach, H. I. (Eds.). (2006). Dry skin and moisturizers : Chemistry and function (2nd ed.). Boca Raton: Taylor & Francis.

  16. 2. วิจัย วิทยานิพนธ์ การศึกษาโดยอิสระ (Research ,Thesis , Independent Study) แบบแผน ชื่อสกุล./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่อง./ประเภทผลงาน./ชื่อหลักสูตร/สาขาวิชา./สถาบันการศึกษา,/ ชื่อเมืองหรือจังหวัดที่ตั้งของสถานศึกษา. รูปแบบการลงรายการ ดุษฏีนิพนธ์/วิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์/การค้นคว้าอิสระ คล้ายหนังสือ แต่หลังจากชื่อเรื่องให้ระบุประเภท เช่น วิทยานิพนธ์ หรือการค้นคว้าอิสระ พร้อมด้วยชื่อหลักสูตร โดยเขียนเต็ม ตามด้วยชื่อสถาบันการศึกษา และชื่อเมืองที่ตั้งของสถาบันการศึกษาไว้หลังชื่อเรื่อง และในวิทยานิพนธ์ภาษาอังกฤษระดับมหาบัณฑิต ใช้คำว่า Master’s Thesis และระดับดุษฎีบัณฑิต ใช้ว่า Doctoral Dissertation

  17. ตัวอย่างภาษาไทย นามโก้ อันมั่น. (2544). พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งในองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ศึกษาเฉพาะกรณีการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลตำบลบ้านฉาง เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2554. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา นโยบายสาธารณะ. มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี. วรพชร จันทร์ขันตี. (2551). กระบวนการตรวจสอบการใช้อ านาจรัฐ ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. สุชัญญา แสวงผล. (2546).ผลกระทบจากการใช้เครื่องสำอางสมุนไพร ในเขตเทศบาล นครเชียงรายอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย. การศึกษาโดยอิสระบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง, เชียงราย.

  18. ตัวอย่างภาษาอังกฤษ Cavusoglu, H. (2003). The economics of information technology security. Doctoral Dissertation. University of Texas at Dallas. Chatchai Satsitapong. (2007).Designing cosmetic manufacturing model according to Asean cosmetic GMP guideline. Independent study Cosmetic Science School of Cosmetic Science. Mae Fah Luang University, Chiang Rai. Institute of food technologists launches campaign to counter misconceptions about food science. (2012). Professional services close – up. Retrieved November 1, 2013, from http://search.proquest.com/docview/1023261255?accountid=50161 Sanchan Kantabutra. (2007). Performance measurement through efficiency analysis: Application of DEA. Doctoral Dissertation. Asian Institute of Technology, Pathum Thani.

  19. 3.บทความ วารสาร นิตยสาร (Article) แบบแผน ชื่อผู้แต่ง./(วัน,/เดือน/ปีพิมพ์)./ชื่อบทความ./ชื่อวารสาร,/เล่มที่(ฉบับที่),/เลขหน้า • รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมบทความในวารสารและนิตยสารประกอบด้วย • บทความในวารสาร • 1. ชื่อผูเขียนบทความ • 2. ปที่พิมพ (สําหรับนิตยสาร หมายรวมถึงเดือน หรือวันที่และเดือน) • 3. ชื่อบทความ • วารสารและนิตยสาร • 1) ชื่อวารสาร • 2) เลขประจําเลม หรือเลขประจําป (อาจรวมเลขประจําฉบับ) • 3) เลขหนาที่บทความนั้นปรากฏ • 4. รูปแบบบรรณานุกรมของบทความในวารสาร ที่มีเลขหนาของทุกฉบับในแตละเลม หรือปเรียงติดตอกัน

  20. ตัวอย่างภาษาไทย บัณฑิต หลิมสกุล. (2549). กลไกระงับข้อพิพาทขององค์การค้าโลกในบริบทของ เศรษฐกิจที่ไร้พรมแดน. วารสารนิติศาสตร์, 2, 341-383. พัชรพิมพ เสถบุตร. (2551). พลังน้ำ-พลังธรรมชาติที่ถูกปรับเปลี่ยน. ผูจัดการ, 26(292), 136-139. วีณา โรจนราชา. (4 มีนาคม 2551). ไม่มีพระสุพรรณกัลยาในพระราชพงศาวดาร ไทย. สกุลไทย, 54(2785), 134-135.

  21. ตัวอย่างภาษาอังกฤษ Balina, L. M. & Graupe, K. (1991). The treatment of melasma : 20% azelaic acid versus 4% Hydroquinone cream. Int J Dermatol, 30, 893-895. Christopher, N. (1998). Complications of cutaneous laser surgery. Dermatol Surg, 24, 209-219. Weisberg, R. W. (1994). Genius and madness? a quasi-experimental test of the hypothesis that manic depression increases creativity. Psychological Science, 5, 365-367.

  22. 4.หนังสือพิมพ์(Newspaper) ข่าวสาร แบบแผน ชื่อผู้เขียนบทความ./(ปีที่พิมพ์/วันที่/เดือน)./ชื่อบทความ./ชื่อหนังสือพิมพ์,/เลขหน้า. รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมบทความในหนังสือพิมพ ไดแก 1. ชื่อผูแตง 2. ปที่พิมพ ซึ่งหมายรวมถึงวันที่และเดือน 3. ชื่อบทความ 4. รายละเอียดเกี่ยวกับหนังสือพิมพ ประกอบดวย ชื่อหนังสือพิมพ และเลขหนาที่บทความนั้นปรากฏ 5. ในสวนปพิมพ ใหระบุวันที่ และเดือนไวตามหลังป โดยมีเครื่องหมายจุลภาคคั่น 6. ในสวนรายการชื่อหนังสือพิมพ ใหใสชื่อหนังสือพิมพ ตามดวยเลขหนาที่บทความปรากฏเลขหนา ใหนําดวยคํา หนา สําหรับภาษาไทย สวนภาษาอังกฤษใหใช p. หรือ pp. (ถามีมากกวาหนึ่งหนา)

  23. ตัวอย่างภาษาไทย/อังกฤษ พรรณวิภา กฤษฎาพงศ์. (2550, 14 พฤษภาคม). เม็ดลำไยช่วยชะลอความแก่ บำรุง ผิวหน้าให้เหี่ยวย่นช้าลง. ไทยรัฐ, หน้า 7. วิริยะ สวางโชติ. (2542). วิจารณหนังสือ ระบบวิทยุและโทรทัศนไทย: โครงสรางทาง เศรษฐกิจการเมืองและผลกระทบตอสิทธิเสรีภาพ. (2542). กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. [โดย] อุบลรัตน ศิริยุวศักดิ์. รัฐศาสตรสาร, 21(2), 383- 394. สํานักงานคุมครองเด็กสภาคริสตจักรในประเทศไทย. (2551, เมษายน). ขาวคริสตจักร, 76(694), 29-31 Chalida Ekvitthayavechnukul. (2008, April 17). SMEsencouraged to look to four regions. The Nation, p. 5.

  24. 5. เอกสารจากอินเตอร์เน็ต (Electronic Document) แบบแผน ผู้แต่ง./(ปีพิมพ์,เดือน วันที่)./ชื่อเรื่อง./สืบค้นเมื่อ วันที่ เดือน ปี,/ จาก http://... เอกสารจากอินเทอรเน็ต มีองคประกอบเชนเดียวกับเอกสารที่เปนสิ่งตีพิมพอื่น ๆ เปนตนวามีผูแตง มีชื่อเรื่อง มีปที่ผลิต ซึ่งเทียบไดกับปพิมพ ขอมูลที่เกี่ยวของกับการสืบคนเอกสารที่จําเปนตองระบุไว ไดแก วันที่และเดือนปที่สืบคนและยูอารแอล (URL) ภาษาไทยใชวา สืบคนเมื่อ . . . , จาก . . . , ภาษาอังกฤษใชวา Retrieved . . . ,from . . . , โดยไมตองใสเครื่องหมายมหัพภาคเมื่อจบขอความ

  25. ตัวอย่างภาษาไทย ทบวงมหาวิทยาลัย. (ม.ป.ป).คู่มือต้นแบบการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ กลุ่มเคมีอาหาร. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2556, จาก http://nqf.agro.ku.ac.th/UP/manuals/foodchem.pdf วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์. (มีนาคม 2550).โลกร้อนความจริงที่ทุกคนต้องรู้. สารคดี, 23(265).สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2556, จาก http://www.sarakadee.com/web/modules.php?name= Sections&op= viewarticle&artid=685 skin=j&lpp=271&catop=&scid=zzz อัจจิมา สุวรรณจินดา. (2005). เครื่องสำอางสำหรับผิวแพ้ง่าย. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2556, จาก http://www.naturebyjarin.com/beauty_cosmetic.asp

  26. ตัวอย่างภาษาอังกฤษ Asia Now. (2001). Cosmetic products market-Thailand. Retrieved October 30, 2013, from http://www.buyusa.gov/asianow/thcosmetic.html Clark, S. (2008, May 23). Fire & ice: What really happened to water on Mars. Newscientist,198(2657). Retrieved October 30, 2013, from http://space. newscientist.com/article/mg 19826571.800-fire-ice-what-really- happened-to-water-on-mars.html DeLaune, S. C. & Ladner, P. K. (2002). Fundamentals of nursing: Standards & practice. Retrieved October 30, 2013, from http://www.netlibrary.com//Search/SearchResults.aspx?

  27. 6. เอกสารจากฐานข้อมูลออนไลน์ต่างๆ(Online Databases) แบบแผน Author./(Year,/Month/Date)./Title./Retrived/Month/Date,/Year,/from/Name of database.//URL ใชรูปแบบเดียวกับบรรณานุกรมหนังสือ คือระบุชื่อผูแตง ปที่จัดทํา ชื่อเรื่อง และรายละเอียดอื่นเทาที่ปรากฏในเอกสารนั้น หากเปนหนังสือหรือเอกสารที่เคยมีฉบับที่เปน สิ่งตีพิมพมากอน ใหระบุไวดวย และในกรณีเชนนี้ ในการเขียนรายการอางอิงแทรกในเนื้อหา ใหระบุปพิมพไวทั้งสองปี

  28. ตัวอย่างภาษาอังกฤษ Apipa, P. (2000). Socialization of new faculty at a public university in Thailand [Abstract]. Doctoral Dissertation, Michigan State University. Retrieved August 21, 2002, from UMI Proquest Digital Dissertations on-line database (Publication No. AAT 3009163). http://wwwlib.umi.com/dissertations/fullcit/3009163 William,W. & Christopher, F. (2000). Administrative law. Oxford: Oxford University Press. Retrieved February 5, 2011, from NetLibrary (Product ID 56530). http://www.netlibrary.com

  29. หากมีข้อสงสัยหรือต้องการคำปรึกษาเพิ่มเติมหากมีข้อสงสัยหรือต้องการคำปรึกษาเพิ่มเติม โปรดติดต่อ บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า Tel. 0 5391 6339 หรือ 0 5391 6345 e-mail: library@mfu.ac.th www.facebook.com/LREMC

More Related