1 / 23

การจัดทำแผนพัฒนา ระบบบริการสุขภาพ ( Service Plan)

การจัดทำแผนพัฒนา ระบบบริการสุขภาพ ( Service Plan). นพ.สุวัฒน์ กิตติดิลกกุล. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ประสานสอดรับ และเชื่อมโยงกัน. 1. ขยายความครอบคลุม พัฒนาขีดความสามารถการบริการให้สอดรับกับความต้องการของประชาชนและพื้นที่. 2.

kathy
Download Presentation

การจัดทำแผนพัฒนา ระบบบริการสุขภาพ ( Service Plan)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ(Service Plan) นพ.สุวัฒน์ กิตติดิลกกุล

  2. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ประสานสอดรับ และเชื่อมโยงกัน 1 ขยายความครอบคลุม พัฒนาขีดความสามารถการบริการให้สอดรับกับความต้องการของประชาชนและพื้นที่ 2 มุ่งพัฒนาระบบบริการทุกระดับ และพัฒนาความเชี่ยวชาญระดับสูง 3 เชื่อมโยงเครือข่ายทั้งภายในจังหวัด เขต และประเทศ สนับสนุนให้ดำเนินการพัฒนาตามแผนพัฒนาคุณภาพบริการ 4 6 การสนับสนุนทรัพยากร สอดคล้องกับแผนพัฒนา ระบบริการสุขภาพ 5 วัตถุประสงค์

  3. พัฒนาระบบบริการปฐมภูมิพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ 1 จัดทำแผนร่วมกันทั้งระดับเขต/จังหวัด/สถานบริการ และเชื่อมโยงบริการทุกระดับ 2 เน้นการลดความแออัด ลดเวลารอคอยของผู้รับบริการ 3 เกิดจากความยินยอมพร้อมใจกันทุกฝ่าย 4 ต้องไม่กระทบต่อคุณภาพบริการและความรู้สึกของประชาชนผู้รับบริการ 5 นโยบาย / เป้าหมายการจัดทำ Service Plan

  4. แบ่งระดับบริการเป็น 3 ระดับ (ปฐมภูมิ ทุติยภูฒิ และตติยภูมิ) สามารถมีแพทย์ปฏิบัติงานประจำได้ในชุมชนใหญ่ สามารถมีหน่วยบริการที่เล็กกว่า รพ.สต.ได้ หากจำเป็น สถานบริการระดับตติยภูมิ มีบริการตติยภูมิเฉพาะด้านได้ สถานบริการระดับตติยภูมิ มีบริการตติยภูมิเฉพาะด้านได้ 3. 4. 5. 6. 1. กรอบแนวคิด กำหนดสถานบริการให้เป็น Node ด้านการให้บริการทั่วไป / บริการเฉพาะด้าน และมีสถานบริการประเภทที่มีผู้ป่วยนอก แต่ไม่มีผู้ป่วยในได้ 2.

  5. ใช้ทรัพยากรร่วมกันระหว่างสถานบริการภายในและภายนอกเครือข่าย เช่นการใช้พื้นที่การให้บริการ (หอผู้ป่วยใน ห้องผ่าตัด ฯลฯ) ครุภัณฑ์การแพทย์ เครือข่ายระบบบริการ เครือข่ายผู้เชี่ยวชาญสาขาต่าง ๆ 6. การจัดทำ Service Plan ควรมีการระดมความเห็นจากผู้รับบริการ ภาคประชาชน ภาคเอกชน และภาครัฐที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วม 7. กรอบแนวคิด (ต่อ)

  6. เครือข่ายบริการระดับจังหวัด (Provincial Health Service Network) P1-3

  7. เปรียบเทียบการจัดระดับสถานบริการสาธารณสุขในระบบเครือข่ายระหว่างกรอบเดิมและกรอบใหม่ระดับตติยภูมิเปรียบเทียบการจัดระดับสถานบริการสาธารณสุขในระบบเครือข่ายระหว่างกรอบเดิมและกรอบใหม่ระดับตติยภูมิ

  8. เปรียบเทียบการจัดระดับสถานบริการสาธารณสุขในระบบเครือข่ายระหว่างกรอบเดิมและกรอบใหม่ระดับทุติยภูมิเปรียบเทียบการจัดระดับสถานบริการสาธารณสุขในระบบเครือข่ายระหว่างกรอบเดิมและกรอบใหม่ระดับทุติยภูมิ

  9. เปรียบเทียบการจัดระดับสถานบริการสาธารณสุขในระบบเครือข่ายระหว่างกรอบเดิมและกรอบใหม่ระดับปฐมภูมิเปรียบเทียบการจัดระดับสถานบริการสาธารณสุขในระบบเครือข่ายระหว่างกรอบเดิมและกรอบใหม่ระดับปฐมภูมิ

  10. 1. ความหนาแน่นของประชากร 2. กลุ่มอายุของผู้ต้องการรับบริการ ระบบข้อมูลสุขภาพ 3. ภาระการให้บริการ และความแออัดของผู้รับบริการ 4. ความต้องการของประชาชน 5. ปัญหาการเข้าถึงบริการ 5. ปัญหาการเข้าถึงบริการ 6. ปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ 7. โรคประจำถิ่น 8. ทำเลที่ตั้งสถานบริการ และภูมิประเทศ ปัจจัยที่นำมาพิจารณาจัดทำ Service Plan

  11. 9. เครือข่ายการส่งต่อผู้ป่วยในปัจจุบัน 10. แนวโน้มการเจริญเติบโตของชุมชน / เมือง ระบบข้อมูลสุขภาพ ปัจจัยที่นำมาพิจารณาจัดทำ Service Plan 11. เส้นทางคมนาคมและการขยายเส้นทางในอนาคต 11. เส้นทางคมนาคมและการขยายเส้นทาง 12. สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ 5. ปัญหาการเข้าถึงบริการ 13. ข้อมูลสถานบริการ ทรัพยากร และการเข้าถึงบริการภาคเอกชน (ต่อ) 14. ข้อมูลการเงิน - การคลัง

  12. 1.ข้อมูลพื้นฐานของจังหวัด1.ข้อมูลพื้นฐานของจังหวัด 2. ข้อมูลสุขภาพ ประชากรในพื้นที่ 6. กำหนดยุทธ ศาสตร์การพัฒนา ระบบบริการของ จังหวัด แนวทางจัดทำ Service Plan 3.ข้อมูลโครงสร้าง สถานบริการในพื้นที่ (รวมภาครัฐ ภาคเอกชน) 5. วิเคราะห์สภาพการณ์ และคาดการณ์ความ ต้องการบริการ สุขภาพในอนาคต 4. ข้อมูลการให้บริการสุขภาพ แนวทางการจัดทำ Service Plan ระดับจังหวัด

  13. แผนพัฒนาโครงสร้างสถานบริการแผนพัฒนาโครงสร้างสถานบริการ

  14. แผนพัฒนาระบบบริการ (Service plan) จังหวัดสมุทรสงคราม

  15. โครงสร้างสถานบริการระดับปฐมภูมิโครงสร้างสถานบริการระดับปฐมภูมิ 1 2 เน้นการให้บริการเชิงรุก เป็นด่านหน้า การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เด็ก ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และหญิงตั้งครรภ์ และเพิ่มบริการแพทย์ทางเลือกใน รพ.สต. เป็นศูนย์แพทย์ชุมชนใน เขตเมือง / เขตชุมชน มีแพทย์ประจำเพิ่มการตรวจทางห้อง ปฏิบัติการ และการ X-ray รพ.สต. 49 แห่ง PCU 3 แห่ง PCU1 แห่ง

  16. โครงสร้างสถานบริการระดับทุติยภูมิโครงสร้างสถานบริการระดับทุติยภูมิ 3 4 พัฒนาศักยภาพให้ได้มาตรฐานโรงพยาบาลระดับ 2.1 สร้างเครือข่ายการดูแลสุขภาพในพื้นที่ พัฒนาระบบส่งต่อ และข้อมูลการดูแลสุขภาพ และร่วมกับเทศบาลอัมพวา จัดคลินิกการรักษาพยาบาลในเขตเทศบาล พัฒนาศักยภาพให้ได้มาตรฐานโรงพยาบาลระดับ 2.2 แก้ปัญหาผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เน้นการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม และการบริการด้วยหัวใจเป็นมนุษย์ รพ.อัมพวา 30 เตียง (รพช.ระดับกลาง) รพ.นภาลัย 90 เตียง (รพช.ขนาดใหญ่)

  17. โครงสร้างสถานบริการระดับตติยภูมิโครงสร้างสถานบริการระดับตติยภูมิ 5 ขยายบริการการดูแลผู้ป่วยไตวาย โดยจัดตั้งหน่วยไตเทียมเพิ่มศักยภาพการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และผู้สูงอายุ เป็นศูนย์เชี่ยวชาญโรคอุบัติเหตุ หัวใจ มะเร็ง และเด็กแรกเกิด รพ.สมเด็จพระพุทธเลิศหล้า (รพท.ขนาดใหญ่)

  18. 1. แผนลงทุน 2. แผนบุคลากร ที่ดิน อาคาร สิ่งก่อสร้าง ครุภัณฑ์ทางการแพทย์ การจัดหา การผลิต และการพัฒนาบุคลากร แผนสนับสนุนทรัพยากร

  19. แผนสนับสนุนทรัพยากร (ที่ดิน อาคาร สิ่งก่อสร้าง)

  20. แผนสนับสนุนทรัพยากร (ครุภัณฑ์ทางการแพทย์)

  21. แผนบุคลากร (การจัดหา การผลิต และการพัฒนาบุคลากร)

  22. จัดทำกระบวนการประเมินและพัฒนาคุณภาพบริการจัดทำกระบวนการประเมินและพัฒนาคุณภาพบริการ โดยใช้เครื่องมือ ได้แก่ - ระบบ พบส. - การบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพบริการของ สถานบริการตามเกณฑ์มาตรฐานต่าง ๆ เช่น TQA, PMQA, HA, HAQA, PCA และอื่น ๆ เช่น มาตรฐานห้องปฏิบัติการ ฯ แผนพัฒนาคุณภาพบริการ

  23. สวัสดี

More Related