490 likes | 705 Views
ตลาดน้ำมันโลก : การวิเคราะห์บทบาทของ OPEC. เอกสารอ้างอิง. Peirce, W.S., Economics of the Energy Industries . บทที่ 9 Dahl, C. International Energy Markets: Understanding Pricing, Policies and Profits . บทที่ 6. เอกสารอ้างอิง.
E N D
ตลาดน้ำมันโลก: การวิเคราะห์บทบาทของ OPEC
เอกสารอ้างอิง • Peirce, W.S., Economics of the Energy Industries. บทที่ 9 • Dahl, C. International Energy Markets: Understanding Pricing, Policies and Profits. บทที่ 6
เอกสารอ้างอิง • Pindyck R.S. and Rubinfeld D.L. Microeconomics, Fifth Edition. บทที่ 2, 10 และ 12 (Cartels) 3
เค้าโครงการบรรยาย พัฒนาการอุตสาหกรรมน้ำมันโลก OPEC กับวิกฤตการณ์น้ำมันโลก วิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับอิทธิพลและบทบาทของ OPEC 4
พัฒนาการของอุตสาหกรรมน้ำมันโลกพัฒนาการของอุตสาหกรรมน้ำมันโลก • หลุมน้ำมันแรกของโลก (1859 ในสหรัฐฯ โดย Edwin Drake ทำน้ำมันจุดตะเกียง) • พบและผลิตน้ำมันมากขึ้นในสหรัฐฯ และส่วนอื่นของโลก (มากในตะวันออกกลาง) เพื่อใช้ในรถยนต์ • ในสหรัฐฯ ผูกขาดโดย Standard Oil (SO) ของ John D. Rockefeller
พัฒนาการของอุตสาหกรรมน้ำมันโลกพัฒนาการของอุตสาหกรรมน้ำมันโลก • ราคาผันผวนในช่วงแรก และมีแนวโน้มลดต่ำจนสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง • ก่อน OPEC บริษัทน้ำมันขนาดใหญ่ 7 แห่ง มีอิทธิพลต่อกิจการน้ำมันโลก (Seven sisters: Exxon, Gulf, Mobil, Standard Oil of California, Texaco, British Petroleum และ Shell) ทั้งสำรวจ ผลิต กลั่น และขาย
พัฒนาการของอุตสาหกรรมน้ำมันโลกพัฒนาการของอุตสาหกรรมน้ำมันโลก • สหรัฐฯ เปลี่ยนจาก net oil exporter เป็น net oil importer หลัง WW2 เพราะใช้น้ำมันมากขึ้น • ราคาน้ำมันยังตกต่ำ ทำให้รัฐบาลของประเทศผลิตน้ำมันรายใหญ่เรียกร้องเพิ่มส่วนแบ่งจากบริษัทน้ำมัน • Venezuela, Saudi Arabia, Iran, Iraq, Kuwait ร่วมกันจัดตั้ง OPEC ในปี 1960 และต่อมาเพิ่มเป็น 13 ประเทศ
OPEC • Organization of Petroleum Exporting Countries มี 13 ประเทศสมาชิก ได้แก่ Algeria, Angola, Indonesia*, Iran, Iraq, Kuwait, Libya, Nigeria, Qatar, Saudi Arabia, United Arab Emirates, Venezuela และ Ecuador * เลิกเป็นสมาชิกเพราะไม่เหลือให้ส่งออกแล้ว
OPEC • องค์กรผูกขาดขาย (cartel) วัตถุประสงค์เพื่อพยุงราคาน้ำมัน • เมื่อรวมกัน มีอำนาจผูกขาด โดยมีปริมาณการผลิตประมาณ 30%- 55% ของโลก มีปริมาณการส่งออกกว่า 50% ของทั้งหมด และมี 2/3 ของปริมาณสำรองทั้งหมดของโลก (ซาอุฯ มีมากที่สุด)
วิกฤตการณ์น้ำมันโลกครั้งที่ 1 • ราคาน้ำมันโลกเริ่มแพงขึ้นมากในปี 1973 เมื่อกลุ่มประเทศอาหรับใน OPEC ลดการส่งออกน้ำมันเพื่อประท้วงประเทศตะวันตกที่เข้าข้างอิสราเอลในสงครามตะวันออกกลาง ทำให้ราคาน้ำมันพุ่งจาก $3 ต่อบาเรล เป็น $12 ต่อบาเรล • OPEC ตระหนักถึงอำนาจเหนือตลาดของตน
วิกฤตการณ์น้ำมันโลกครั้งที่ 2 • ในปี 1979 การปฏิวัติในอิหร่าน ทำให้ราคาน้ำมันเพิ่มเป็น $35 ต่อบาเรล และสงครามอิรัค-อิหร่าน ปี 1981 ดันราคาสูงขึ้นไปอีก
ภายหลังวิกฤตการณ์น้ำมันโลกครั้งที่ 2 • ต่อมาสงครามและความไม่สงบในตะวันออกกลาง + การใช้อำนาจผูกขาดของ OPEC ได้กลายเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ราคาน้ำมันเพิ่มขึ้น เช่น สงครามอ่าว และสงครามสหรัฐฯ บุกอิรัค ( ทำให้เกิดความผันผวนด้านการผลิต หรือ supply disruptions)
บทบาทของ OPEC ลดลงใน 1985- 2002 • ตั้งแต่กลางทศวรรษ 1980 OPEC มีผลต่อราคาน้ำมันน้อยลง เพราะ • เศรษฐกิจโลกหันไปใช้พลังงานอื่นๆ มากขึ้น เช่น ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ • มีแหล่งผลิตน้ำมันรายใหญ่อื่น เช่น รัสเซีย เม็กซิโก และทะเลเหนือ • ทำให้ราคาน้ำมันอ่อนตัวมาโดยตลอดช่วง 1985-2002
อุปสงค์ที่ผู้ผูกขาดเผชิญ ก็คือ อุปสงค์ตลาด ทบทวนแนวคิดการผูกขาด (monopoly) เนื่องจากในตลาดผูกขาดมีหน่วยผลิตเพียงรายเดียว ดังนั้น อุปสงค์ที่มีต่อสินค้าและบริการของตลาดเป็นเช่นไร อุปสงค์ผู้ผูกขาดเผชิญย่อมเป็นเช่นนั้นด้วย
ทบทวนแนวคิดการผูกขาด (monopoly) ตัวอย่างเช่น ถ้าฟังก์ชั่นของอุปสงค์ตลาด คือ Q = 1600 – 100P อุปสงค์ที่ผู้ผูกขาดเผชิญย่อมมีฟังก์ชั่น เป็นแบบเดียวกับอุปสงค์ของตลาดนี้ด้วย
เส้นอุปสงค์และรายรับที่ผู้ผูกขาดเผชิญเส้นอุปสงค์และรายรับที่ผู้ผูกขาดเผชิญ ราคา (บาท/กิโลกรัม) Q = 1600 - 100P 16 14 12 10 8 6 4 2 D MR ปริมาณ(Q) (พันกิโลกรัม/วัน) 0 200 1,200 1,600 400 600 800
กำไร ระดับผลผลิตที่ทำให้มีกำไรสูงสุด รายรับ, ต้นทุน (บาท) TC A TR C B Q* Q 0 Q0
TR TC = Q Q MR=MC เงื่อนไขจำเป็นของการมีกำไรสูงสุด ที่ระดับผลผลิตที่ทำให้มีกำไร (TR - TC) สูงสุด หรือที่ระดับ Q*จะได้ว่า ความชันของเส้น TR = ความชันของเส้น TC
dTR dTC dQ dQ dMR dMR dMC dMC dQ dQ dQ dQ MR = MC Slope ของ MC > Slope ของ MR เงื่อนไขของการมีกำไรสูงสุด (เชิงคณิตศาสตร์) - TR(Q) TC(Q) = • Second -Order Condition คือ • First-Order Condition คือ < 0 = 0 - = - < นั่นคือ 0 - = MR MC = 0 < หรือ
MR =MC Slope ของMC> Slope ของMR เงื่อนไขที่ทำให้หน่วยผลิตผูกขาดมีกำไรสูงสุด ก็คือ หน่วยผลิตจะต้องผลิตและขายสินค้า จนถึงระดับปริมาณผลผลิตที่ทำให้ และ
ดุลยภาพของตลาดผูกขาด(Monopoly Equilibrium) ราคา (บาท/กิโลกรัม) 16 Q* = 500 P* = $11 14 MC 12 A C 11 ATC 10 8 B F 6 E 4 2 D MR ปริมาณ(Q) (พันกิโลกรัม/วัน) 0 200 1,200 1,600 500 400 800
การหาดุลยภาพของหน่วยผลิตการหาดุลยภาพของหน่วยผลิต dTR MR = = 16 – 0.02Q dQ dC MC = = 6 dQ (ในเชิงคณิตศาสตร์) • กำหนดให้ฟังก์ชันอุปสงค์และต้นทุนการผลิตที่ผู้ผูกขาดเผชิญเป็นดังนี้ อุปสงค์ : P = 16 - 0.01 Q ------------- (1) ต้นทุน : C = 1,000 + 6Q------------- (2) จาก (1) หา TR เอา Q คูณตลอด TR = P x Q = 16Q – 0.01Q2 จาก (2) หา MC ให้MR = MC 16 - 0.02Q = 6 Q = 500
แทนค่า Q ใน (1) P = 16 - 5 = 11 ราคา = 11 บาท/หน่วย หากำไร = 5,500- 4,000 = 1,500 กำไรรวม = 1,500 บาท
การตั้งราคาของผู้ผูกขาดการตั้งราคาของผู้ผูกขาด : กรณีไม่ทราบ AR, MR d(P x Q) dTR dQ dQ P dQ . Q dP dQ dQ P x Q dP P dQ P(1 + 1 ) EP P(1 + 1 ) EP MC 1 1 + ( ) EP (Rule of Thumb for pricing) : Markup Pricing = = MR = + = P + = MR = P = MC =
การวัดอำนาจในการผูกขาดการวัดอำนาจในการผูกขาด (P- MC) P 1 - EP (Measuring Monopoly Power) ดัชนีที่ใช้วัดอำนาจการผูกขาด เรียกว่า Lerner’s Degree of Monopoly Power หรือLerner Index L = หรือ = ความยืดหยุ่นยิ่งต่ำ อำนาจการผูกขาดยิ่งสูง
1 P (1 + ) EP 1 P (1 + ) . EP . . P + P EP P - EP 1 P - MC - EP P พิสูจน์ MR = ที่กำไรสูง MR =MC = MC = P -MC = =
Elasticity of Demand and Price Markup กรณีความยืดหยุ่นต่ำ กรณีความยืดหยุ่นสูง MC MC P P P -MC P -MC D = AR D = AR MC MC MR MR 0 0 QA Q QB Q
วิเคราะห์อำนาจ OPEC กับราคาน้ำมันโลก • OPEC รวมกันเป็นกลุ่มผู้ผลิตรายใหญ่ ต้นทุนต่ำและร่วมกันจำกัดปริมาณการผลิตและส่งออก (โควต้า) เพื่อผลักดันราคาให้สูงขึ้น
วิเคราะห์อำนาจ OPEC กับราคาน้ำมันโลก • อำนาจผูกขาดของ OPEC + ความยืดหยุ่นระยะสั้นทางราคาที่ต่ำทั้งด้านอุปสงค์และอุปทาน (low short-run price elasticity of demand and supply) • ทำให้ราคาเปลี่ยนแปลงได้มากและเร็ว • แต่เปลี่ยนแปลงน้อยลง เมื่อความยืดหยุ่นสูงขึ้นในระยะยาว
วิเคราะห์อำนาจ OPEC กับราคาน้ำมันโลก • ในระยะสั้น ความยืดหยุ่นด้านอุปสงค์มีค่าต่ำ (low short-run price elasticity of demand) เพราะการปรับปริมาณการใช้น้ำมันต้องใช้เวลา เช่น ต้องเปลี่ยนรถยนต์ เครื่องจักร • ในระยะสั้น ความยืดหยุ่นด้านอุปทานมีค่าต่ำ (low short-run price elasticity of supply) เพราะการเพิ่มปริมาณการผลิตทำไม่ได้ในระยะสั้น (โดยเฉพาะแหล่งผลิตที่ไม่ใช่ OPEC) 39
วิเคราะห์อำนาจ OPEC กับราคาน้ำมันโลก • ในปี 2522 ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลก = $18 ต่อบาเรล • ความต้องการ (demand) = อุปทาน (supply) = 23 พันล้านบาเรลต่อปี • OPEC supply = 10 พันล้านบาเรลต่อปี • Non-OPEC supply = 13 พันล้านบาเรลต่อปี
วิเคราะห์อำนาจ OPEC กับราคาน้ำมันโลก ค่าความยืดหยุ่นต่อราคา (Price Elasticity) World Demand: -0.05 -0.40 non-OPEC Supply: 0.10 0.40 Short-Run Long-Run (ระยะสั้น) (ระยะยาว)
วิเคราะห์อำนาจ OPEC กับราคาน้ำมันโลก • ในระยะสั้น การลดการผลิต (และส่งออก) ของ OPEC จะมีผลกระทบอย่างมากต่อราคาตลาดโลก เพราะ • OPEC มีส่วนแบ่งสูงในตลาด (ประมาณ 40%) • ทั้ง demand และ supply มีความยืดหยุ่นต่อราคา (price elasticity) ค่อนข้างต่ำ
SC D ST ราคา ($ ต่อบาเรล) 45 ผลกระทบ ในระยะสั้น 40 35 30 25 20 18 15 10 D 5 ปริมาณ (พันล้านบาเรลต่อปี) 0 5 10 15 20 23 25 30 35
SC D S’T ST ราคา ($ ต่อบาเรล) 45 ถ้า OPEC ลดการผลิต ทำให้เส้น supply เลื่อนไปทางซ้าย โดยปริมาณ 3 bb ต่อปี จะทำให้ราคาที่ดุลยภาพ พุ่งสูงขึ้นจาก 18 $ ต่อบาเรล เป็นถึง 41 $ ต่อบาเรล 41 40 35 30 25 20 18 15 10 D 5 ปริมาณ (พันล้านบาเรลต่อปี) 0 5 10 15 20 23 25 30 35
วิเคราะห์อำนาจ OPEC กับราคาน้ำมันโลก • ในระยะยาว การลดการผลิต (และส่งออก) ของ OPEC จะมีผลกระทบต่อราคาตลาดโลกค่อนข้างน้อย เพราะ • ทั้ง demand และ supply มีความยืดหยุ่นต่อราคา (price elasticity) สูงขึ้น เช่น การประหยัดพลังงาน และการใช้พลังงานอื่นทดแทนน้ำมัน
SC D ST ราคา ($ ต่อบาเรล) 45 ผลกระทบ ในระยะยาว (เส้น D และ S มีความชัน น้อยลง) 40 35 30 25 20 18 15 10 D 5 ปริมาณ (พันล้านบาเรลต่อปี) 0 5 10 15 20 23 25 30 35
SC D S’T ST ราคา ($ ต่อบาเรล) 45 40 35 ในระยะยาว การลดการผลิตของ OPEC มีผลกระทบต่อราคาไม่มาก เพราะ supply และ demand มีความยืดหยุ่นมากขึ้น 30 25 20 18 15 10 D 5 ปริมาณ (พันล้านบาเรลต่อปี) 0 5 10 15 20 23 25 30 35