910 likes | 1.32k Views
INT1005 Information System and Development ระบบสารสนเทศและ การพัฒนา. การจัดการสารสนเทศในองค์กร. *. การวางแผนและการพัฒนาระบบสารสนเทศ (System Development). ความจำเป็นในการพัฒนาระบบสารสนเทศ. การเปลี่ยนแปลงกระบวนการการบริหารและการปฏิบัติงาน การปรับองค์การและสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน
E N D
INT1005 Information System and Development ระบบสารสนเทศและ การพัฒนา
การจัดการสารสนเทศในองค์กรการจัดการสารสนเทศในองค์กร
* การวางแผนและการพัฒนาระบบสารสนเทศ (System Development)
ความจำเป็นในการพัฒนาระบบสารสนเทศความจำเป็นในการพัฒนาระบบสารสนเทศ • การเปลี่ยนแปลงกระบวนการการบริหารและการปฏิบัติงาน • การปรับองค์การและสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน • กระบวนการธุรกิจ • บุคลากร • วิธีการและเทคนิค • เทคโนโลยี • งบประมาณ • ข้อมูลและโครงสร้างพื้นฐานภายในองค์การ • การบริหารโครงการ
กระบวนการวางแผนระบบสารสนเทศกระบวนการวางแผนระบบสารสนเทศ ภารกิจขององค์การ การประเมินสภาพแวดล้อม โครงสร้างพื้นฐานเดิมด้าน IT แผนกลยุทธ์ขององค์การ แผนกลยุทธ์ด้าน IT โครงสร้างพื้นฐานด้าน IT แผนปฏิบัติการด้าน IT โครงการด้าน IT
การวางแผนระบบสารสนเทศในองค์การการวางแผนระบบสารสนเทศในองค์การ 1. วิสัยทัศน์และแผนกลยุทธ์ขององค์การ • วิสัยทัศน์ : องค์การกำลังมุ่งไปในทิศทางใด • แผนกลยุทธ์ : องค์การจะเดินไปตามทิศทางที่กำหนดไว้อย่างไร 2. ระบบสารสนเทศจะสนับสนุนวิสัยทัศน์และ กลยุทธ์ขององค์การอย่างไร • ระบบสารสนเทศจะมีบทบาทในการสนับสนุนวิสัยทัศน์ขององค์การอย่างไร • ระบบสารสนเทศเดิมเป็นอย่างไร • แผนระบบสารสนเทศในปัจจุบันเป็นอย่างไร • แผนระบบสารสนเทศในอนาคตจะพัฒนาในลักษณะอย่างไร
การวางแผนระบบสารสนเทศในองค์การการวางแผนระบบสารสนเทศในองค์การ 3. ระบบสารสนเทศในปัจจุบัน • ระบบปัจจุบันได้สนับสนุนองค์การมากน้อยเพียงไร • ระบบปัจจุบันมีความเหมาะสมหรือไม่ มีจุดอ่อนจุดแข็งอย่างไร • ควรจะปรับปรุงระบบปัจจุบันอย่างไร 4. ระบบสารสนเทศที่เสนอแนะ • หลักการและเหตุผล • ความสามารถของระบบใหม่ • ฮาร์ดแวร์ • ซอร์ฟแวร์ • ข้อมูล และการสื่อสารข้อมูล
การวางแผนระบบสารสนเทศในองค์การการวางแผนระบบสารสนเทศในองค์การ 5. กลยุทธ์ทางการบริหาร • แผนการจัดหา • ช่วงเวลาดำเนินการ • การจัดโครงสร้างองค์การใหม่ • การปรับปรุงระบบงานภายในองค์การ • การควบคุมทางการบริหาร • การฝึกอบรม • กลยุทธ์ด้านบุคลากร
การวางแผนระบบสารสนเทศในองค์การการวางแผนระบบสารสนเทศในองค์การ 6. แผนปฏิบัติการ • รายละเอียดแผนปฏิบัติการ • ปัญหาที่คาดว่าจะเกิดขึ้น • รายงานความก้าวหน้า 7. งบประมาณที่ต้องการใช้ • ค่าใช้จ่ายทั้งหมด 8. การพัฒนาระบบสารสนเทศ
ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ • วิธีการ เทคนิค และเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ • การวิเคราะห์ระบบสารสนเทศ • การจัดการแฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล • การออกแบบระบบสารสนเทศ • การพัฒนาระบบสารสนเทศ
วิธีการ เทคนิค และเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ • แนวทางในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ ได้แก่ วิธีการ (Methodology) เทคนิค (techniques) และเครื่องมือแบบจำลองต่างๆ (Model Tools) • วิธีการใช้วิเคราะห์และออกแบบสารสนเทศ คือ SDLC (System development lift cycle) และ RAD ( Rapid application development)
วิธีการ เทคนิค และเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ • 3. เทคนิคสำหรับการวิเคราะห์ ได้แก่ เทคนิคการรวบรวมข้อมูล ( Data gathering) และเทคนิคการจัดการโครงการ (Project Management) • 4. เครื่องมือสำหรับวิเคราะห์ ได้แก่ แบบกระบวนการ (Modeling processes) แบบจำลองข้อมูล (modeling data) และแบบจำลองเชิงวัตถุ (Modeling object)
การวิเคราะห์ระบบสารสนเทศการวิเคราะห์ระบบสารสนเทศ • วงจรการพัฒนาระบบ (SDLC) เป็นวิการแบบดั่งเดิม • ขั้นตอนวิเคราะห์ระบบสารสนเทศ ( System Analysis phase) ประกอบด้วยการวิเคราะห์ปัญหา การศึกษาความเป็นไปได้ การวิเคราะห์ความต้องการ การวิเคราะห์เพื่อการตัดสินใจ
3. การจัดการแฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล • การจัดการแฟ้มข้อมูลและโครงสร้าง • แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล ประกอบด้วยการจัดแฟ้ม การใช้แฟ้ม ความรู้ด้านฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล ข้อดี ปัญหาและอุปสรรค • สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบจำลองฐานข้อมูล
4. การออกแบบระบบสารสนเทศ • การออกแบบผลลัพธ์ เช่น การกำหนดความต้องการผลลัพธ์ อุปกรณ์ที่แสดงผล วิธีการแสดงผล การออกแบบรายงาน • การออกแบบข้อมูลนำเข้า เช่นวิธีการนำเข้า อุปกรณ๋รับข้อมูล • การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ • การออกแบบแฟ้มข้อมูล ฐานข้อมูล • การออกแบบแอฟพิเคชั่น • การพิจารณาฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และอุปกรณ์สื่อสาร
การพัฒนาและการใช้ระบบสารสนเทศการพัฒนาและการใช้ระบบสารสนเทศ • การพัฒนาระบบสารสนเทศ เช่นความต้องการซอฟต์แวร์ การเขียนโปรแกรม การทดสอบ • การนำสารสนเทศไปใช้ การปรับเปลี่ยนระบบ การจัดทำเอกสาร การฝึกอบรม
การพัฒนาระบบสารสนเทศ การพัฒนาระบบสารสนเทศ(SystemDevelopment) เป็นกิจกรรมทั้งหมดที่จำเป็นในการนำระบบสารสนเทศมาใช้เพื่อแก้ปัญหาขององค์การหรือสร้างโอกาสให้กับองค์การ การพัฒนาระบบสารสนเทศมีหลายวิธีเช่น แบบวงจรชีวิต(System Development Life Cycle), การสร้างต้นแบบ(Prototyping), การเน้นผู้ใช้เป็นหลัก(End-User Development), การจ้างบุคคลภายนอก(Outsourcing), และการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป(Application software package)
วิธีการ (methodologies) หมายถึง รูปแบบการดำเนินงานที่ใช้สำหรับการวิเคราะห์ การออกแบบ และการพัฒนาระบบสารสนเทศ มี 2 วิธี คือ วิธีวงจรพัฒนาระบบ (systems development life cycle-SDLC)ปัจจุบันเรียกว่าเป็นวิธีการพัฒนาระบบแบบเดิม ต้องใช้ระยะเวลานานและทรัพยากรมาก วิธีพัฒนาระบบงานแบบรวดเร็ว (rapid application development- RAD) ปัจจุบันมีเทคโนโลยีสมัยใหม่และเครื่องมือต่าง ๆ ที่ได้สร้างขึ้นมาเพื่อช่วยในการพัฒนาระบบสารสนเทศ
เปรียบเทียบขั้นตอนของวงจรพัฒนาระบบ และการพัฒนาระบบแบบรวดเร็ว • SDLC • การวิเคราะห์ปัญหา • การศึกษาความเป็นไปได้ • การวิเคราะห์ความต้องการของระบบ • การวิเคราะห์เพื่อตัดสินใจ • การออกแบบ • การสร้างระบบ • การใช้ระบบ RAD 1. การวางแผนกำหนดความต้องการ (requirement planning) 2. การออกแบบโดยผู้ใช้ (user design) 3. การสร้างระบบ (construction) 4. การเปลี่ยนระบบ (cutover)
วิธีการการพัฒนาระบบแบบรวดเร็ว จำแนกได้เป็น การพัฒนาระบบร่วมกัน การจัดทำต้นแบบ การใช้ซอฟต์แวร์เคส และการวิเคราะห์ ออกแบบและเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ • การพัฒนาระบบร่วมกัน (joint application development – JAD) • การพัฒนาระบบร่วมกันหรือ เจเอดี เป็นอีกวิธีหนึ่งของการพัฒนาระบบอย่างรวดเร็ว ระหว่างผู้ใช้ระบบและผู้พัฒนา โดยผู้ใช้และผู้พัฒนาระบบมีส่วนร่วมในการกำหนดความต้องการของระบบร่วมกัน (Joint requirement planning – JRP) และออกแบบระบบร่วมกัน (joint application design – JAD) เพื่อลดเวลา ค่าใช้จ่าย และขั้นตอนการรวบรวมข้อมูล เป็นวิธีที่บริษัทไอบีเอ็มพัฒนาขึ้นในช่วงปลายทศวรรษ1970 และเป็นที่นิยมใช้เป็นเทคนิคในการรวบรวมข้อมูลขององค์การด้านธุรกิจ ในการรวบรวมข้อมูลร่วมกันผู้ที่เกี่ยวข้องจะต้องมีการวางแผนดำเนินการที่ดีเพราะเป็นกระบวนการที่ต้องใช้เวลา และค่าใช้จ่าย แต่ผลที่ได้ก็จะคุ้มค่า
การจัดทำต้นแบบ (prototyping) • การจัดทำต้นแบบ คือ การจัดสร้างระบบทดลองหรือระบบต้นแบบก่อนการพัฒนาระบบทั้งหมด ขึ้นมาแล้วให้ผู้ใช้ทำการทดสอบหาข้อบกพร่องและประเมินค่าของระบบ นำไปปรับปรุง และทดสอบประเมินใหม่วนซ้ำไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะเป็นที่ยอมรับของผู้ใช้จึงนำไปปรับเปลี่ยนเป็นระบบจริง วิธีนี้ทำให้ผู้ใช้มีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบ เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อมที่ไม่สามารถกำหนดความต้องการที่ชัดเจน แน่นอนได้ แม้ว่าจะไม่รวมคุณสมบัติของงานประยุกต์ไว้ทั้งหมดเพราะยังเป็นระบบที่ยังไม่ได้รับการทดสอบอย่างสมบูรณ์ ไม่มีข้อมูลจำนวนมากและครบถ้วนเต็มระบบ จึงอาจมีข้อบกพร่องได้ แต่ก็สร้างได้อย่างรวดเร็ว และประหยัด (London and London 2001)
การใช้ซอฟต์แวร์เคส (computer-aided software engineering – CASE) ซอฟต์แวร์เคส เป็นซอฟต์แวร์สำเร็จที่ช่วยสนับสนุนการพัฒนาระบบสารสนเทศ ที่ช่วย พัฒนาโปรแกรม และสร้างแบบฟอร์มต่างๆ ให้มีมาตรฐาน ถือเป็นเครื่องมือที่ช่วยอำนวยความสะดวก เพิ่มประสิทธิภาพทำให้มีมาตรฐานและมีโครงสร้างที่ดี อุปสรรคก็คือมีราคาสูง ต้องใช้เวลาฝึกอบรมในการใช้ค่อนข้างมาก องค์การส่วนใหญ่ยังไม่มีมาตรฐานของการนำมาประยุกต์ใช้ที่ชัดเจน ซอฟต์แวร์เคส เช่น Oracle’s Developer 2000, Rational ROSE, Visio
การวิเคราะห์ ออกแบบ และเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ หรือโอโอเอดี (object-oriented analysis and design – OOAD) มองระบบเป็นกลุ่มของวัตถุ ในปัจจุบันใช้วิธีนี้มากทั้งการวิเคราะห์ ออกแบบ และโปรแกรม การพัฒนาโปรแกรมเชิงวัตถุ เป็นการใช้แนวคิดในการวิเคราะห์ ออกแบบ และเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ มีเครื่องมืออัตโนมัติช่วยสนับสนุนมากในทุกขั้นตอน
System Development Life Cycle (SDLC) • ศึกษาความเป็นไปได้ • วิเคราะห์ระบบ • ออกแบบระบบ • เขียนโปรแกรม • ทดสอบระบบ • ติดตั้งใช้งานระบบ • เปลี่ยนระบบเข้าสู่ระบบใหม่ และบำรุงรักษา
ข้อสังเกตเกี่ยวกับการใช้ SDLC • การพัฒนาระบบต้องใช้เวลานานมาก • กว่าจะได้ผลให้ผู้บริหารเห็น ผู้บริหารก็อาจเปลี่ยนเป็นคนใหม่ ซึ่งมีความต้องการต่างกันไป • หากใช้เวลานานมาก แม้แต่ เทคโนโลยี ก็เปลี่ยนไป • ต้องใช้งบประมาณค่อนข้างมาก
แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศแนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศ • ๑. พัฒนาระบบโดยพัฒนาต้นแบบ • จัดทำระบบทดลอง โดยอาศัยข้อกำหนดความต้องการของผู้ใช้ จากนั้น เชิญผู้ใช้มาพิจารณาระบบทดลอง • ๒. การจัดซื้อซอฟต์แวร์สำเร็จมาใช้ • ข้อพิจารณาในการเลือกซอฟต์แวร์สำเร็จ • มี function ครบถ้วน • ยืดหยุ่น สามารถปรับเปลี่ยนได้ • ใช้ง่าย ติดตั้งง่าย ดูแลง่าย • มีเอกสารต่าง ๆ พร้อม • ผู้ขายมีคุณภาพ และพร้อมสนับสนุน • ใช้ทรัพยากรต่างๆ ไม่มาก เกินความจำเป็น • ราคาเหมาะสม
แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ) • ๓. การว่าจ้างที่ปรึกษาบริษัทเอกชนหรือ ภาครัฐ • ข้อดี • มีความเชี่ยวชาญด้านนี้อยู่แล้ว • อุดหนุนคนไทย หากเป็นสถาบันภาครัฐ • มีความไว้วางใจ หากเป็นภาครัฐ • ประหยัดเวลาในการจัดทำเอกสารการประกวดราคา • ข้อสังเกต • ที่ปรึกษาภาครัฐเหมาะกับโครงการขนาดเล็ก – กลาง เนื่องจากขาดความเชี่ยวชาญในการบริหารโครงการขนาดใหญ่
แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ) • ๔. การพัฒนาระบบของผู้ใช้ • ข้อดี • ช่วยทุ่นเวลา และกำลังคนของศูนย์ไอซีที อีกทั้งผู้ใช้ได้ระบบที่ต้องการรวดเร็วขึ้น และตรงกับความต้องการมากที่สุด • ข้อเสีย • ระบบที่ได้อาจจะไม่ได้มาตรฐาน ไม่สามารถทำงานร่วมกับระบบอื่นได้ ขาดเอกสารคู่มือ ทำให้อาจมีปัญหา หากผู้พัฒนาไม่อยู่ในองค์กรแล้ว ถ้าบุคลากรขาดความรู้ความสามารถทำให้เปลืองเวลาและทรัพยากรและมีอัตราเสี่ยงสูง
แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ) • ๕. การ Outsourcing • มีได้หลายความหมาย การว่าจ้างให้คนภายนอกพัฒนาระบบงานให้ก็เป็นการ Outsource แต่ในปัจจุบัน นิยมหมายถึง การให้บริษัทมารับเหมางานด้านไอซีทีไปหมด ตั้งแต่การพัฒนาระบบ การจัดหาอุปกรณ์มาใช้ รวมไปถึงการปฏิบัติการระบบให้ด้วยคนของบริษัทเอง
Outsourcing Development • หมายถึง การจ้างบริษัทภายนอกเข้ามาดำเนินการพัฒนาระบบสารสนเทศให้กับธุรกิจหรือองค์กร ซึ่งรวมทั้งการพัฒนาระบบ การจัดการระบบ และการบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับธุรกิจ และการให้บริการอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น การเช่าซื้ออุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์ต่างๆ โดยมีการทำสัญญา (Contract) ร่วมกัน • การใช้บริการจากผู้ให้บริการภายนอก (Outsource) • แหล่งภายนอกมากกว่า 80% ได้แก่ การมอบหมายความรับผิดชอบและโอนทรัพย์สินรวมทั้งพนักงานให้กับ Outsourcer • แหล่งภายนอกน้อยกว่า 80% ได้แก่ การเลือกใช้บริการอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการชั่วคราว เช่น การจ้างเขียนโปรแกรม
When to use outsourcing? • ปัจจัยที่ควรพิจารณา ได้แก่ • ความจำเป็นของระบบต่อการดำเนินงานขององค์กร • ระบบที่มีความต้องการรีบด่วน • ระบบที่ไม่เกี่ยวกับระบบอื่นในองค์กร • ระบบที่มีมาตรฐานสูง • ระบบที่จะพัฒนานั้นไม่ใช่เพื่อการทำงานหลักที่สำคัญที่สุดขององค์กร • ผลกระทบของการใช้งานระบบต่อการแข่งขันขององค์กร • เมื่อต้องการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ แต่ธุรกิจไม่มีความสามารถด้านนี้ • ความต้องการในการพัฒนาบุคลากรด้าน IT ขององค์กร
ข้อดี ทำให้ต้นทุนในการพัฒนาระบบสารสนเทศลดลง ได้รับคุณภาพของบริการตามที่ต้องการ มีความยืดหยุ่นในการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่ใช้ ทำให้สามารถประมาณการค่าใช้จ่ายได้ ลดเวลาของคนในองค์กรที่จะต้องไปทำงานด้านระบบสารสนเทศ ได้ความรู้ความชำนาญจากภายนอก ทำให้ผู้บริหารสามารถมุ่งความสนใจไปในเรื่องที่เน้นกลยุทธ์ขององค์กรมากขึ้น ประหยัดงบประมาณ และกำลังคน ได้บริการที่มีคุณภาพ กำหนดและพยากรณ์งานที่ต้องการได้ง่าย ทำให้ต้นทุนคงที่ กลายเป็น ต้นทุนแปรผัน ข้อเสีย สูญเสียการควบคุม เพราะการควบคุมการทำงานของระบบสารสนเทศอยู่ที่บริษัทภายนอก ทำให้ต้องพึ่งพาบริษัทภายนอกในการจัดการระบบสารสนเทศ อาจเสี่ยงต่อการรั่วไหลของข้อมูลที่สำคัญ ความล้าสมัยในความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของบุคลากรภายใน ปัญหา ควบคุมการปฏิบัติงานไม่ได้ ? ข้อมูลสำคัญอาจรั่วไหล ? ไม่มีความเป็นอิสระ ต้องพึ่งบริษัทตลอดเวลา ? ขาดความยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยนระบบ ? ไม่มีโอกาสพัฒนาคนของหน่วยงาน? ข้อดีและข้อเสียของ Outsourcing
ความล้มเหลวของ Outsourcing • ผู้บริหารไม่เข้าใจในเทคโนโลยีที่จะต้องบริหารว่า มีผลต่อองค์กร อย่างไร ข้อจำกัดเป็นอย่างไร • องค์กรไม่สามารถระบุความต้องการที่แท้จริงได้ • องค์กรไม่มีความสามารถในการหาแหล่ง Outsource • องค์กรไม่มีความสามารถในการเจรจาต่อรองกับ Outsourcer • องค์กรไม่มีความสามารถในการประสานงานกับ Outsourcer
ขั้นตอนในการ Outsourcing • จัดตั้งคณะทำงานกับแหล่ง Outsource • ระบุข้อกำหนดความต้องการใช้บริการที่แท้จริง • ดำเนินการจัดทำเอกสารเชิญชวนยื่นข้อเสนอ • ประเมินข้อเสนอ • ประเมินผู้เสนอให้บริการ • เจรจาต่อรองในการทำสัญญา โดยในสัญญาควรพิจารณาในเรื่องที่สำคัญ คือ ระยะเวลาของสัญญา วิธีการวัดผลงาน (ปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลาการนำส่ง) และการคาดการณ์ถึงเหตุการณ์ที่อาจจะเปลี่ยนแปลง
การพัฒนาระบบ คือ Page 620 35
การพัฒนาระบบ คือ Pages 620 – 621 Figure 12-1 36
การพัฒนาระบบ คือ System development รวมถึงตัวแทนจากฝ่ายต่างๆซึ่งมึจุดประสงค์เดียวกันในระบบ 37
การพัฒนาระบบ คือ Project managementคือกระบวนการวางแผน กำหนดตาราง และควบคุมกิจกรรมในระหว่างการพัฒนา แผนและตารางการทำงานจะมีประสิทธิภาพขึ้นอยู่กับหัวหน้าโครงการเป็นผู้กำหนด : 38
การพัฒนาระบบ คือ เครื่องมือที่นิยมใช้ในการวางแผนและจัดทำตารางเวลาและความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมที่กำหนดใน Gantt chart 39
การพัฒนาระบบ คือ A PERT chart ใช้ในการวางแผนและจัดทำตารางเวลา 40
การพัฒนาระบบ คือ Feasibility เป็นการศึกษาถึงความเหมาะสมในการพัฒนาระบบสารสนเทศขององค์กร 41
การพัฒนาระบบ คือ • Documentation คือการรวบรวมและรายงานสรุปข้อมูลและสารสนเทศ • โครงการคือสมุดบันทึกเอกสารทั้งหมดในแต่ละโครงการ • Users และ IT professionals จะอ้างถึงเอกสารเพื่อปฏิบัติงานและเปลี่ยนแปลงระบบปัจจุบัน 42
การพัฒนาระบบ คือ ระหว่างการพัฒนาระบบสมาชิกทีมโครงการจะต้องนำข้อมูลและสารสนเทศมาด้วยเทคนิคต่างๆได้หลายวิธี 43
ใครคือผู้กำหนดโครงการพัฒนาระบบใครคือผู้กำหนดโครงการพัฒนาระบบ 44
แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศแนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศ จัดทำขึ้นเองโดยอาศัยผู้เชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์ ว่าจ้างบริษัทที่ปรึกษาจัดทำระบบให้ จัดหาซอฟต์แวร์สำเร็จรูป จัดจ้างผู้เชี่ยวชาญภายนอก
วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC)) ระบบสารสนเทศทั้งหลายมีวงจรชีวิตที่เหมือนกันตั้งแต่เกิดจนตายวงจรนี้จะเป็นขั้นตอนที่เป็นลำดับตั้งแต่ต้นจนเสร็จเรียบร้อย เป็นระบบที่ใช้งานได้ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบต้องทำความเข้าใจให้ดีว่าในแต่ละขั้นตอนจะต้องทำอะไร และทำอย่างไร ขั้นตอนการพัฒนาระบบมีอยู่ด้วยกัน 7 ขั้น ด้วยกัน คือ
วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC))
วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC)) 1. การศึกษาเบื้องต้น (Preliminary study) 2. การวิเคราะห์ระบบ ( System Analysis) 3. การออกแบบระบบ ( System Design) 4. การพัฒนาระบบ (Construction) 5. การทดสอบระบบและการเปลี่ยนระบบ (System Testing and Conversion) 6. บำรุงรักษาระบบ (Maintenance)
วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC)) ขั้นที่ 1 : การศึกษาเบื้องต้น (Preliminary study) การที่จะแก้ไขระบบเดิมที่มีอยู่แล้วไม่ใช่เรื่องที่ง่ายนัก หรือแม้แต่การสร้างระบบใหม่ ดังนั้นควรจะมีการศึกษาเสียก่อนว่าความต้องการของเราเพียงพอที่เป็นไปได้หรือไม่ ได้แก่ "การศึกษาความเป็นไปได้" (Feasibility Study) สรุป ขั้นตอนที่ 1: การศึกษาเบื้องต้น หน้าที่ : ตระหนักว่ามีปัญหาในระบบ ผลลัพธ์ : อนุมัติการศึกษาความเป็นไปได้ เครื่องมือ : ไม่มี บุคลากรและหน้าที่ความรับผิดชอบ : ผู้ใช้หรือผู้บริหารชี้แจงปัญหาต่อนักวิเคราะห์ระบบ
วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC)) การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) การกำหนดว่าปัญหาคืออะไรและตัดสินใจว่าการพัฒนาสร้างระบบสารสนเทศ หรือการแก้ไขระบบสารสนเทศเดิมมีความเป็นไปได้หรือไม่โดยเสียค่าใช้จ่ายและเวลาน้อยที่สุด และได้ผลเป็นที่น่าพอใจ นักวิเคราะห์ระบบจะต้องกำหนดให้ได้ว่าการแก้ไขปัญหาดังกล่าวมีความเป็นไปได้ทางเทคนิคและบุคลากรความเป็นไปได้ทางด้านบุคลากร คือ บริษัทมีบุคคลที่เหมาะสมที่จะพัฒนาและติดตั้งระบบเพียงพอหรือไม่ ถ้าไม่มีจะหาได้หรือไม่ จากที่ใด