1.3k likes | 2.37k Views
Medical Complication in Pregnancy. Associate Professor Doctor Atiwut Kamudhamas Department of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Thammasat University. Contents. Gestational diabetes mellitus Iron deficiency anemia Thalassemia Cardiovascular disease.
E N D
Medical Complication in Pregnancy Associate Professor Doctor Atiwut Kamudhamas Department of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Thammasat University
Contents • Gestational diabetes mellitus • Iron deficiency anemia • Thalassemia • Cardiovascular disease
Outline • Definition • Epidemiology • Pathogenesis • Classification • Screening test • Risk Assessment for Detecting GDM • Management in GDM
Diabetes Mellitus • ความผิดปกติเรื้อรังของเมตาบอลิซึมที่เกิดจากการขาดอินซูลิน ซึ่งอาจจะเป็นการขาดแบบสมบูรณ์หรือแบบสัมพัทธ์ ทำให้มีระดับน้ำตาลสูงในระยะ post prandial หรือ fasting หรือทั้งสองกรณี มักมี ketosis และ การสูญเสียโปรตีนร่วมด้วย • เบาหวานในสตรีตั้งครรภ์แบ่งได้เป็น 2 ประเภท - gestational diabetes (GDM) ตรวจพบเป็นครั้งแรกระหว่างตั้งครรภ์ - pregestational diabetes : ได้รับการวินิจฉัยมาก่อนการตั้งครรภ์
Epidemiology • เป็นโรคแทรกซ้อนทางอายุรศาสตร์ขณะตั้งครรภ์ที่พบได้บ่อยที่สุด • พบได้ร้อยละ 2-3 ของผู้ตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ • พบมากขึ้นเมื่อสตรีตั้งครรภ์อายุมากขึ้น • มักเกิดในไตรมาสที่ 2 ของการตั้งครรภ์
Pathogenesis • ระยะแรกของการตั้งครรภ์ - Estrogen และ Progesterone จากรก มีผลเพิ่มการทำงานของ beta cell ของตับอ่อน ทำให้มีการหลั่ง insulin เพิ่มขึ้น ระดับ FBS ต่ำกว่าระดับก่อนการตั้งครรภ์ • ระยะหลังของการตั้งครรภ์ - รกสร้างฮอร์โมนที่มีฤทธิ์ต้าน insulin ขึ้นอย่างมาก ที่สำคัญที่สุด คือ HPL นอกจากนี้ prolactin, cortisol, glucagon ก็ยังมีฤทธิ์นี้ด้วย ทำให้ความดื้อต่อ insulin มีมากขึ้น (diabetogenic effect) ร่วมกับความต้องการ insulin ที่เพิ่มขึ้น จึงเกิดเป็นเบาหวาน
GDM • Class A1 (chemical DM) พบเป็นส่วนใหญ่ • Class A2 (overt DM) มี fasting hyperglycemia
Diagnostic test • One-step approach : OGTT • Two-step approach - 50g GCT : ≥ 140 mg/dl (80%) - 100g OGTT : ≥ 130 mg/dl (90%) • Selective screening : ตรวจคัดกรองใน high risk เท่านั้น • Universal screening : ตรวจคัดกรองในสตรีตั้งครรภ์ทุกราย
Risk Assessment for Detecting GDM • High risk พบปัจจัยต่อไปนี้ ตั้งแต่ 1 ข้อขึ้นไป - อายุมากกว่า 35 ปี - อ้วน ( น้ำหนักมากกว่า ideal weight ร้อยละ 20 ) - เบาหวานในญาติใกล้ชิด - ประวัติเบาหวานในครรภ์ที่ผ่านมา - ประวัติการคลอดที่ผ่านมาผิดปกติ เช่น เคยคลอดทารกน้ำหนักมากกว่า 4000g - พบน้ำตาลในปัสสาวะ • ตรวจกรองตั้งแต่เริ่มฝากครรภ์ หรือทันทีที่ตรวจได้ และตรวจซ้ำเมื่อ GA24-28 wks. ถ้าตรวจครั้งแรกไม่พบGDM
Risk Assessment for Detecting GDM • Moderate risk - ไม่จัดอยู่ในความเสี่ยงสูงหรือต่ำ ตรวจกรองเมื่อ GA24-28 wks. • Low risk (พบทุกข้อต่อไปนี้) - อายุน้อยกว่า 25 ปี - มีเชื้อชาติหรือพื้นเพเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่ำ - ไม่พบเบาหวานในญาติใกล้ชิด - น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์และน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ปกติ (BMI น้อยกว่า 26 kg/m2) - ไม่มีประวัติน้ำตาลในเลือดผิดปกติ - ไม่พบประวัติทางสูติศาสตร์ที่ผิดปกติ อาจไม่จำเป็นต้องตรวจกรอง
Diagnosis • Hx : - ประวัติโรคเบาหวานในครอบครัว - ประวัติความเสี่ยงต่อการเป็นเบาหวาน เช่น คลอดบุตรน้ำหนัก > 4,000 g, ประวัติเด็กตายคลอด หรือตายแรกเกิดโดยไม่ทราบสาเหตุ • PE : - รูปร่างอ้วน - ครรภ์ใหญ่กว่าปกติ หรือพบครรภ์แฝดน้ำ - ตรวจพบความผิดปกติของระบบต่าง ๆ จากเบาหวาน ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ • Ix : - ตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะ - ตรวจหาระดับน้ำตาลในกระแสเลือด โดยวิธี OGTT
Oral glucose tolerance test • 100-gram OGTT (3hr) • ถ้าระดับน้ำตาลในเลือดมีค่าเท่ากับหรือมากกว่าค่ามาตรฐาน 2 ค่าขึ้นไป GDM • ถ้าผิดปกติ 1 ค่า แนะนำให้ตรวจซ้ำอีก 1 เดือน pt. 1/3 พบ GDM เมื่อตรวจซ้ำ • 75-gram OGTT • เป็นการตรวจเพียงขั้นตอนเดียว ใช้ได้ทั้งสตรีตั้งครรภ์และไม่ตั้งครรภ์
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรคเบาหวานผลของการตั้งครรภ์ต่อโรคเบาหวาน • ความต้องการอินซูลินไม่แน่นอน • เกิดภาวะ diabetic ketoacidosis ได้ง่าย • โอกาสเกิดอาการข้างเคียงเพิ่มขึ้น เช่น retinopathy, nephropathy
ผลของโรคเบาหวานต่อการตั้งครรภ์ผลของโรคเบาหวานต่อการตั้งครรภ์ • การแท้ง • Hypoglycemia • Hyperglycemia • ติดเชื้อได้ง่าย • ภาวะความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์ • ครรภ์แฝดน้ำ • การคลอดยากและอันตรายต่อช่องทางคลอด • การตกเลือดหลังคลอด • อัตราการตายของมารดาเพิ่มขึ้นเล็กน้อย
ผลของโรคเบาหวานต่อทารกในครรภ์และทารกแรกคลอดผลของโรคเบาหวานต่อทารกในครรภ์และทารกแรกคลอด • Neonatal hypoglycemia • การตายของทารกในครรภ์ • การตายของทารกหลังคลอด • อัตราการเกิด RDS สูงขึ้น • ทารกตัวโต (macrosomia) • ทารกพิการแต่กำเนิด • Neonatal hypocalcemia • Hypomagnesemia • Polycythemia • Hyperbilirubinemia • Renal vein thrombosis • Cardiomyopathy
Management in GDM • ควบคุมน้ำตาลให้ได้ดีตลอดการตั้งครรภ์ • ตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์ • ป้องกันภาวะแทรกซ้อน • ยุติการตั้งครรภ์ในเวลาที่เหมาะสม
การควบคุมน้ำตาลระหว่างการตั้งครรภ์การควบคุมน้ำตาลระหว่างการตั้งครรภ์ • การควบคุมอาหาร • การออกกำลังกายอย่างเหมาะสม • การควบคุมด้วยอินซูลิน
การทานอาหารเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลการทานอาหารเพื่อควบคุมระดับน้ำตาล • จุดมุ่งหมาย • ให้แม่และทารกได้รับสารอาหารที่มีปริมาณแคลอรีเพียงพอกับความต้องการ • ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ • หลีกเลี่ยงการควบคุมอาหารมากเกินไปจนเกิดภาวะ ketonuria หรือ ทารกในครรภ์โตช้า
การทานอาหารเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลการทานอาหารเพื่อควบคุมระดับน้ำตาล • เฉลี่ยความต้องการพลังงาน 30 kcal/kg/day โดยประเมินจาก ideal body weight • ในคนตั้งครรภ์ปกติต้องการพลังงานวันละ 1,800-2,000 kcal • CBH:Protein:Lipid= 55:20:25 • แบ่งอาหารออกเป็น 4 มื้อ อัตราส่วน 25:30:30:15 • หลีกเลี่ยงคาเฟอีน อาหารมัน รสจัด • ดื่มน้ำในช่วงระหว่างมื้ออาหารมากกว่าในมื้ออาหาร
การออกกำลังกายเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลการออกกำลังกายเพื่อควบคุมระดับน้ำตาล • Cardiovascular-conditioning (aerobic exercise) • แนะนำให้ผู้ป่วยออกกำลังกายโดยเคลื่อนไหวส่วนบนมากกว่าส่วนล่าง • หรือออกกำลังกายในท่านอน
การใช้อินซูลินเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลการใช้อินซูลินเพื่อควบคุมระดับน้ำตาล • ควรเปลี่ยนยา จากยาทานมาเป็นยาฉีด เนื่องจาก • ยาทานสามารถผ่านรกได้ • ปรับขนาดยาลำบาก • ทำให้เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (hypoglycemia) ได้ง่าย • เริ่มใช้ยาเมื่อระดับ FBS > 105 mg/dl และได้มีการควบคุมอาหารร่วมด้วยแล้ว
การใช้อินซูลินเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลการใช้อินซูลินเพื่อควบคุมระดับน้ำตาล • ในผู้ป่วยที่วินิจฉัย Overt DM • ต้องรับไว้ในโรงพยาบาล เพื่อปรับระดับน้ำตาลให้เหมาะสมก่อน • ให้ intermediate + short-acting insulin (mix-split dose) และแบ่งให้ 2/3 ตอนเช้าและ 1/3 ช่วงเย็น • หลังจากให้ผู้ป่วยกลับบ้าน ควรนัดเพื่อตรวจระดับน้ำตาลในเลือด อาทิตย์ละ 1 ครั้ง
การใช้อินซูลินเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลการใช้อินซูลินเพื่อควบคุมระดับน้ำตาล • ในระยะแรกของการตั้งครรภ์ พบผู้ป่วยมีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำได้บ่อย ควรระมัดระวังในการให้อินซูลิน • ความต้องการอินซูลินของผู้ป่วยจะเพิ่มขึ้นตามอายุครรภ์
เป้าหมายในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดเป้าหมายในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
ภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยเบาหวานที่ขาดอินซูลิน • Diabetic ketoacidosis (DKA) • BS 200-250 mg/dl • Dehydration • Hyponatremia
Diabetic ketoacidosis • Treatment • IV fluid 2 lines 1,000 cc/hr BS < 250 mg/dl 5% DW • Insulin IV Bolus RI 10-20 u then RI drip 5-10 u/hr • Potassium • Within 2-4 hr • Should not > 30-40 mEq/hr • Bicarbonate in severe acidosis (pH < 7.0) off when pH > 7.2
การตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์การตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์ • ทารกจากมารดาที่เป็น GDM ไม่เพิ่มอัตราพิการโดยกำเนิด และอัตราการตายปริกำเนิด ถ้าดูแลอย่างเหมาะสม • เฝ้าระวังภาวะ PIH
Management in overt DMin first trimester • ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ด้วยตนเอง • ให้คำแนะนำในการควบคุมอาหารและระดับน้ำตาลในเลือด การฉีดยา อินซูลิน การปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง • ให้ความรู้เกี่ยวกับผลของโรคเบาหวานต่อการตั้งครรภ์ และการตั้งครรภ์ต่อโรคเบาหวาน • ตรวจหาภาวะแทรกซ้อนทางหลอดเลือด • ตรวจยืนยันอายุครรภ์ที่แน่นอนด้วย ultrasonography
Management in overt DMin second trimester • เจาะ MSAFP เมื่ออายุครรภ์ 16-20 สัปดาห์ซึ่งจะต่ำกว่าการตั้งครรภ์ปกติ • ตรวจอัลตราซาวด์อย่างละเอียด เมื่ออายุครรภ์ 18-20 สัปดาห์เพื่อหาความพิการของทารกและ neural tube defect • ตรวจ fetal echocardiogram เมื่ออายุครรภ์ 20-22 สัปดาห์เพื่อหาความผิดปกติของหัวใจทารก
Management in overt DMin third trimester • นัดตรวจทุกสัปดาห์ เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ • ตรวจวินิจฉัยภาวะครรภ์เป็นพิษให้ได้แต่เนิ่น ๆ • ตรวจอัลตราซาวด์เพื่อประเมินการเจริญเติบโตของทารก • ถ้าผู้ป่วยควบคุมระดับน้ำตาลไม่ดี มีความดันโลหิตสูง vasculopathy ควรรับไว้ในโรงพยาบาล
การตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์การตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์ • เริ่มนับ Fetal movement count ตั้งแต่อายุครรภ์ 28-30 สัปดาห์ • GDM: ตรวจ non stress test (NST) 1 ครั้ง/wk • Overt DM : ตรวจ NST 2 ครั้ง/wk ถ้าพบ nonreactive test ให้ตรวจประเมินด้วย biphysical profile (BPP) • การประเมินด้วย doppler ultrasound มีประโยชน์ในผู้ป่วยที่มีภาวะ vasculopathy
การตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์การตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์ • การทดสอบความเจริญของปอดทารก • ทารกในแม่เป็น DM มี delayed lung maturity • ควรทำเมื่อจะให้คลอดก่อน GA 38 wks. หรือไม่ทราบ GA แน่นอน • ตรวจน้ำคร่ำหา • L/S ratio (Lecithin/sphingomyelin) : >2 • Foam stability test or Shake test • PG level (phosphatidylglycerollevel) : >3%
การคลอด • มารดาที่ควบคุมน้ำตาลได้ดีและการตรวจสุขภาพทารกอยู่ในเกณฑ์ปกติ ให้คลอดเมื่อมีอายุครรภ์ 38 สัปดาห์(ต้องทราบอายุครรภ์ที่แน่นอน) • ถ้ามีการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด หลีกเลี่ยงการใช้ยา β-sympathomimetic (tocolytic) เพราะอาจทำให้เกิดketoacidosis การควบคุมน้ำตาลแย่ลง นิยมให้ MgSO4 แทน • การให้ corticosteroid เพื่อเร่งพัฒนาของปอดต้องให้ด้วยความระมัดระวัง • ผู้ป่วยบางรายต้องคลอดก่อนกำหนด เช่น severe preeclampsia การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ผิดปกติ
วิธีการคลอด • ถ้าควบคุมเบาหวานได้ดี ให้คลอดตามปกติทางช่องคลอดได้ • ถ้าประเมินทารกหนัก > 4500 g แนะนำผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง • กรณีที่ควบคุมเบาหวานได้ไม่ดีหรือเด็กมีความผิดปกติที่จำเป็นต้องรีบคลอดควรผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การดูแลผู้ป่วยขณะคลอดการดูแลผู้ป่วยขณะคลอด • Regular insulin หยดเข้าทางเส้นเลือดดำ 0.5-2 U/hr ร่วมกับ glucose หยดเข้าทางเส้นเลือดดำ 5-10 g/hr • RI 8-10 U ผสมกับ 5% D/NSS 100-120 ml/hr • DTX ทุก ๆ 1-4 ชม. ให้อยู่ที่ 70-120 mg/dl • เมื่อทารกและรกคลอดแล้วให้งดอินซูลิน ให้เป็น 5% D/NSS • ระดับน้ำตาลจะลดลงเป็นปกติในไม่กี่ชม. ถ้ายังสูง ให้อินซูลิน sc. • ความต้องการใช้อินซูลินจะลดลงในระหว่างเจ็บครรภ์คลอด ควรควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ • ตรวจติดตามทารกในครรภ์โดยติดตามการเต้นของหัวใจ
การดูแลทารกหลังคลอด • ทารกมีความเสี่ยงสูงต่อภาวะแทรกซ้อนเช่นเดียวกับมารดา โดยเฉพาะภาวะทารกตัวโต • ตรวจดูภาวะ RDS • เจาะเลือดดูระดับน้ำตาล เมื่อ 1 ชม.หลังคลอด และก่อนอาหาร 4 มื้อแรก เป็นเวลา 24 ชม. ถ้า < 40 mg/dl รักษาทันที • ให้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ • ติดตามดูพัฒนาการ : โรคอ้วน และความผิดปกติของ glucose tolerance
การให้นมบุตร • ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีระดับน้ำตาลในเลือดลดลงเป็นปกติ ไม่จำเป็นต้องได้รับยา จึงไม่มีข้อห้ามในการให้นมบุตร • ถ้ายังมีภาวะเบาหวานภายหลังคลอดบุตร ให้ยาฉีดอินซูลินและให้นมบุตรได้ (ไม่ผ่านสู่น้ำนม) • กรณีที่ใช้ยาเม็ดลดระดับน้ำตาล จะผ่านสู่น้ำนมได้จึงไม่ควรให้นมบุตร
การคุมกำเนิด • หลีกเลี่ยงชนิดที่มี estrogen ปริมาณสูง • ยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนต่ำสามารถให้ได้ • Progestin-only pill,Norplant มีผลต่อ carbohydrate metabolism น้อย • ไม่แนะนำให้ใช้ IUD เพราะกลัวติดเชื้อ • ถ้ายังต้องการมีบุตร วิธีที่ดีที่สุดคือ Barrier methods • ถ้ามีบุตรพอแล้ว การทำหมันเป็นวิธีที่ดีที่สุด
การพยากรณ์โรค • ผู้ป่วยเหล่านี้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็น DM (type 2)ในอนาคต • GDM มีโอกาสกลายเป็นเบาหวานแท้จริงในเวลา 22-28 ปี ถึงร้อยละ 50 ควรตรวจ 75 g OGTT 6-8 wk. หลังคลอด • มีโอกาสเกิดซ้ำในครรภ์ต่อไป
Iron contents in the body • Ferritin Storage form • Transferrin Transporting form • Hemoglobin, Myoglobin, Fe-containing enzymes
Iron-deficiency Anemia • Mostcommon cause of anemia during pregnancy 75% • Signs : Fatique, Dyspnea, Headache, PICA • Symptoms : Pallor, Glossitis, Chelitis, Koilonychia
Symptoms Chelitis koilonychia Glossitis
Iron-deficiency Anemia 3 stages of Iron-deficiency • Depletion of iron stores no anemia serum ferritin • Erythropoiesis defect RBC morphology not change Plasma iron, transferrin TIBC • Anemia stage • Hypochromic microcytic anemia
Laboratoryinvestigation • CBC hypochromic microcytic • Iron study • Free erythrocyte protoporphyria • Bone marrow smear iron
Iron study in iron deficiency anemia • Serum ferritin levels<15ng/ml (100 60 ng/ml) • Transferrin levels < 15 % (35-50%) • TIBC levels > 400 g/dl (330 30 g/dl) • Plasma iron levels < 30 ng/ml (115 50ng/ml)