1 / 17

Frictions

Frictions. WUTTIKRAI CHAIPANHA Department of Engineering Management Faculty of Science and Technology Rajabaht Maha Sarakham University. แรงเสียดทาน (Friction).

Download Presentation

Frictions

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Frictions WUTTIKRAI CHAIPANHA Department of Engineering Management Faculty of Science and Technology RajabahtMahaSarakham University

  2. แรงเสียดทาน (Friction) เมื่อใดก็ตามที่วัตถุเคลื่อนที่บนพื้นผิวที่ไม่มีความเรียบหรือผ่านตัวกลางที่มีความหนืด เช่น อากาศหรือน้ำ วัตถุจะถูกต้านทาน ส่งผลให้เกิดความเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการเคลื่อนที่อันเนื่องมาจากปฏิกิริยาระหว่างวัตถุกับสิ่งแวดล้อมที่วัตถุกำลังเคลื่อนที่อยู่นั้น เราเรียกสิ่งที่ต้านทานการเคลื่อนที่ของวัตถุว่า “แรงเสียดทาน”

  3. แรงเสียดทานเกิดขึ้นได้อย่างไร?แรงเสียดทานเกิดขึ้นได้อย่างไร? ผิวเรียบ ผิวขรุขระ เกิดแรงเสียดทานน้อย เกิดแรงเสียดทานมาก

  4. แรงเสียดทานสถิตย์ แรงเสียดทานสถิตย์ (fs)เป็นแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นเมื่อมวลM อยู่นิ่งมีทิศทางตรงกันข้ามกับแรงP ที่มากระทำ W P F N F คือ แรงเสียดทานในสภาวะสมดุลย์

  5. W P = 0 วัตถุยังคงหยุดนิ่ง N W ถ้าแรง F < fsวัตถุไม่เคลื่อนที่ แรงเสียทางสูงสุด = fs (max) =s.N (แรงเสียดทานสถิตย์) P F N W ถ้าแรง F > fsวัตถุเคลื่อนที่ แรงเสียทางสูงสุด= fk(max) =k.N (แรงเสียดทานจลน์) P F N

  6. แรงเสียดทานจลน์ แรงเสียดทานจลน์(fk) เป็นแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นเมื่อมวล M กำลังเคลื่อนที่มีทิศทางตรงกันข้ามกับแรง Pที่มากระทำ Motion F > fs W P F N F คือ แรงเสียดทานในสภาวะสมดุลย์

  7. ตารางที่ 1 ส.ป.ส. แรงเสียดทานสถิตย์และแรงเสียดทานจลน์

  8. ขั้นตอนในการวิเคราะห์ 1. เขียน FBD ของคาน และหาค่าแรงปฏิกิริยา W P F N 2. คำนวณหาแรงเสียดทาน F ที่ทำให้วัตถุอยู่ในสภาวะสมดุลย์ 3. เปรียบเทียบ F กับแรงเสียดทานสถิตย์สูงสุด fs(max)ถ้า - F < fsแสดงว่า “วัตถุไม่เคลื่อนที่” และแรงเสียทานสูงสุด = fs(max) - F > fsแสดงว่า “วัตถุเคลื่อนที่” และแรงเสียทานสูงสุด = fk(max)

  9. Case I : P = 300 N Case II : P = 400 N Case III : P = 500 N

  10. Case I : P = 300 N F < fs ไม่เคลื่อนที่ Fy = 0; - 883 + N = 0, N = 883 N. Fx= 0; 300 -F = 0, F = 300 N. fs = µs x N = 0.50 x 883 = 441 N. W = 90 x 9.81 = 883 N. 300 N. F N

  11. Case II : P = 400 N F < fs ไม่เคลื่อนที่ Fy = 0; - 883 + N = 0, N = 883 N. Fx= 0; 400 -F = 0, F = 400 N. fs = µs x N = 0.50 x 883 = 441 N. W = 90 x 9.81 = 883 N. 400 N. F N

  12. Case III : P = 500 N F > fs เคลื่อนที่ Fy = 0; - 883 + N = 0, N = 883 N. Fx= 0; 500 -F = 0, F = 500 N. fs = µs x N = 0.50 x 883 = 441 N. fk = µk x N = 0.40 x 883 = 353 N. W = 90 x 9.81 = 883 N. 400 N. F F N

  13. Fy = 0; N – Psin 20-981 cos20 = 0 Fx= 0; Pcos20 – F - 981 sin 20 = 0 100 kg. 500 N. F F < Fmax (วัตถุไม่เคลื่อนที่)

  14. Fy = 0; N – Psin 20-981 cos20 = 0 Fx= 0; Pcos20 – F - 981 sin 20 = 0 100 kg. 100 N. F F > Fmax (วัตถุเคลื่อนที่) F

  15. Quiz # 10 Fs = 66 N. (No Motion) Fk = 148.5 N. (Motion)

  16. Final Guide line Truss Analysis Frame Analysis Equilibrium of Rigid body Frictions Internal force of beam

More Related