380 likes | 594 Views
How to Prepare High Salary Trend. Wisarut Ruknapapong. Human Intellectual Management Co.,Ltd. Agenda. สภาพตลาดแรงงานในปัจจุบัน การเตรียมตัวรับนโยบายค่าจ้างสูงของภาครัฐ การปรับปรุงระบบบริหารงานบุคคล. Unemployment in Asia, 2011. 7.1. 4.6. 3.6. 3.5. 1.0. 2.2. 3.3. 2.9.
E N D
How to Prepare High Salary Trend Wisarut Ruknapapong Human Intellectual Management Co.,Ltd.
Agenda • สภาพตลาดแรงงานในปัจจุบัน • การเตรียมตัวรับนโยบายค่าจ้างสูงของภาครัฐ • การปรับปรุงระบบบริหารงานบุคคล
Unemployment in Asia, 2011 7.1 4.6 3.6 3.5 1.0 2.2 3.3 2.9
อัตราการว่างงาน 2551 - 2554 ที่มา กรมการจัดหางาน กันยายน 54
แนวโน้มการขาดแคลนแรงงานแนวโน้มการขาดแคลนแรงงาน หมายเหตุ: ข้อมูลกรมการจัดหางาน ณ ม.ค. 54
สถิติผู้จบการศึกษาใหม่ในแต่ละปีสถิติผู้จบการศึกษาใหม่ในแต่ละปี
ผลกระทบจาก AEC (Asean Economic Community) • ประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ได้แก่ ไทย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน กัมพูชา ลาว พม่า และ เวียดนาม • เป้าหมายหลัก คือ รวมเป็นเขตการผลิต และตลาดเดียวกันในปี 2558 (2015)ซึ่งหมายถึงการทำให้เกิดการเคลื่อนย้ายอย่างเสรีใน 5 สาขา ประกอบด้วยสินค้าบริการ การลงทุน แรงงานฝี มือ และเงินทุน • การเปิดเสรีด้านการค้า AFTA (ASEAN Free Trade Area) ประเทศสมาชิกจะทยอยลดอัตราภาษีศุลกากรระหว่างกัน 0% ภายในปี 2558 • การเปิดเสรีด้านบริการ ได้แก่ โทรคมนาคมและคอมพิวเตอร์ การขนส่งทางอากาศและโลจิสติกส์ การท่องเที่ยว การแพทย์และบริการด้านสุขภาพ เป็นต้น • การเปิดเสรีด้านลงทุน โดยนักลงทุนสามารถถือหุ้นได้สูงถึง 100% ของสัดส่วนผู้ถือหุ้น ในสาขาเกษตร ป่าไม้ ประมง เหมืองแร่ และ การผลิต ส่วนสาขาด้านบริการ อาจกำหนดเพดาน แต่จะไม่ต่ำกว่า 70%
ผลกระทบจาก AEC (Asean Economic Community) • การเปิดเสรีด้านการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ ทำให้แรงงานฝีมือจะย้ายจากประเทศทีมีค่าตอบแทนต่า (ประเทศในแถบอินโดจีนฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย รวมถึงไทย) ไปยังประเทศทีมีค่าแรงสูงกว่าและมีการใช้ภาษาอังกฤษอย่างแพร่หลาย อาทิ สิงคโปร์และมาเลเซีย โดยเฉพาะสาขาการแพทย์ และวิศวกร • การเปิดเสรีด้านเงินทุน ได้มีการตกลงกันในเบื้องต้นว่าจะเร่งพัฒนาตลาดทุนร่วมกันจนนำไปสู่การรวมตัวของตลาดทุนในอาเซียน และยินยอมให้มีการเคลื่อนย้ายเงินทุนโดยเสรีมากขึ้น • กำหนดสาขาสินค้าและบริการสำคัญ 11 สาขาที่จะดำเนินการโดยเร่งด่วน และกำหนดประเทศผู้ดูแลหลัก ได้แก่พม่า สาขาผลิตภัณฑ์เกษตรและสาขาประมง มาเลเซีย สาขาผลิตภัณฑ์ยาง และสาขาสิ่งทอ อินโดนีเซีย สาขายานยนต์ และสาขาผลิตภัณฑ์ไม้ ฟิลิปปินส์ สาขาอิเล็กทรอนิกส์ สิงคโปร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาสุขภาพ ไทย สาขาการท่องเที่ยว และสาขาการบิน
นโยบายค่าจ้างสูงสำหรับภาครัฐนโยบายค่าจ้างสูงสำหรับภาครัฐ • ผู้จบ ป.ตรี เงินเดือน + ค่าครองชีพรวมแล้วไม่เกิน 15000 เช่นบรรจุเป็นราชการแรกเข้า 9140 + 5860 = 15000 • ผู้จบต่ำกว่า ป.ตรี ได้ค่าครองชีพ 1500 ต่อเดือน • ผู้ที่เงินเดือนไม่ถึง 9000 บวกค่าครองชีพให้ถึง 9000
เราต้องเตรียมการอย่างไรต่อนโยบายค่าจ้างสูงเราต้องเตรียมการอย่างไรต่อนโยบายค่าจ้างสูง • กระชับ ปรับลดกำลังคนลง โดยใช้เทคโนโลยีเข้าช่วย • แสวงหา Supplier แรงงาน ที่สามารถควบคุมต้นทุนได้ โดยมีคุณภาพบริการที่ดีด้วย • ควบคุมกำลังพลขาดที่ต้องการรับเข้ามาใหม่ ให้ใช้เท่าที่จำเป็น หรืออาจปรับลดจำนวนพนักงานที่ต้องการรับลงไปบางส่วน • ปรับปรุงคุณสมบัติ และระบบการรับพนักงานใหม่ เพื่อให้ได้ผู้มีความสามารถสูงขึ้น ที่สามารถทำงานอย่างมีประสิทธิผลมากขึ้น • แยกกลุ่มตำแหน่งงานใหม่ เป็นกลุ่มที่ต้องการรับปริญญาตรี และกลุ่มที่ไม่จำเป็นต้องรับปริญญาตรีให้เป็นการว่าจ้างตามลักษณะงาน (กำหนดคุณวุฒิที่ต้องการแค่ ปวส.) • ปรับอัตราค่าจ้างเริ่มต้นสำหรับพนักงานใหม่ตามที่กฎหมายกำหนด และปรับผลกระทบที่จะเกิดแก่พนักงานปัจจุบัน • ปรับปรุงระบบบริหารค่าจ้างให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
คณิตศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์คณิตศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์ ค่าจ้างเริ่มต้น จำนวน Cost 10,000 x 5 = 50,000 20,000 x 2 = 40,000 จ้างคนเก่งคนดี 2 คน ดีกว่าจ้างคนไม่เก่งไม่ดี 5 คน
Starting Salary 2010 Source : TMA Survey 2010 - 2011
ค่าจ้างเริ่มต้นในประเทศเกาหลีใต้ค่าจ้างเริ่มต้นในประเทศเกาหลีใต้ 83,790 B/Month 40,432 B/Month
ตัวอย่างการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายด้านค่าจ้างที่เพิ่มขึ้นจากนโยบายรัฐตัวอย่างการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายด้านค่าจ้างที่เพิ่มขึ้นจากนโยบายรัฐ
ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นกรณีรับตามตำแหน่งงานว่างค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นกรณีรับตามตำแหน่งงานว่าง
ผลกระทบจากค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่อาจเพิ่มขึ้น • ค่าใช้จ่ายยามรักษาการณ์ • ค่าใช้จ่ายพนักงานรับเหมา หรือแรงงานทางอ้อม • ค่าจ้างทำของที่อาจเพิ่มสูงขึ้น • แนวโน้มค่าครองชีพที่อาจถูกกดดันให้เพิ่มขึ้นอีกจากต้นทุนแรงงาน
Concept ของค่าจ้างขั้นต่ำ • เป็นอัตราค่าจ้างต่ำสุดตามกฎหมาย • เพียงพอแก่การครองชีพ ของบุคคลและครอบครัว • เหมาะสมกับงานที่ไม่ต้องใช้ทักษะ (Unskill Labor) • สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจของเขตพื้นที่
ประเด็นต่อนโยบายค่าจ้างขั้นต่ำ 300 บาท • ค่าครองชีพ สภาพธุรกิจเท่ากันทุกเขตจังหวัดหรือไม่ หากกำหนดอัตราเดียวทั่วประเทศ จังหวัดที่ค่าครองชีพต่ำผู้ประกอบการขายสินค้าได้ราคาถูก แต่กลับต้องจ่ายค่าจ้างเพิ่มขึ้นสูงมาก จะรับไม่ไหว • หากเพิ่มค่าจ้างสูงขึ้น ลูกจ้างจะทำงานมากขึ้น หรือพัฒนาตนเองให้มีทักษะสูงขึ้นหรือไม่ • ค่าจ้างขั้นต่ำปัจจุบัน เพียงพอแก่การครองชีพหรือไม่ (ให้เทียบกับด้านค่าใช้จ่ายที่บุคคลจำเป็นต้องใช้) • การปรับตัวของผู้ประกอบการจะรับไหวมั้ย ถ้าทำโดยรวดเร็วและรุนแรง
แนวทางบริหารกรณีค่าจ้างขั้นต่ำ 300 บาท • ใช้คนให้น้อยที่สุด • นำเทคโนโลยีมาใช้ทดแทนคน • ใช้นโยบาย Clean Wage ลดการกำหนดสวัสดิการ ค่าครองชีพ โบนัส หรือเงินเพิ่มพิเศษอื่นๆ • บริหารค่าจ้างโดยเข้มงวด หากพนักงานมีผลงานที่ไม่ดีก็ไม่จำป็นต้องปรับค่าจ้างให้ • ปรับทักษะให้สูงขึ้น เพื่อเพิ่มคุณภาพ หรือปริมาณงานที่ทำได้
People Cost on Total Cost Source : TMA Survey 2010 - 2011
People Cost Portion Standard 2010 Practice 10% 4% Development Development Welfare Welfare 15% 17% Variable Pay Variable Pay 30% 30% Basic Salary Basic Salary 100% 100%
วิธีการปรับเพื่อแก้ปัญหา Compression • ปรับเฉพาะคนที่ถูกแซงขึ้นมาเท่ากับค่าจ้างเริ่มต้นใหม่ • ปรับทุกคนเท่ากันตามจำนวน หรือ % ที่ขึ้น • ปรับแบบ Declining Rate
วิธีที่ 1 ปรับเฉพาะคนถูกแซงให้เท่ากับค่าจ้างเริ่มต้นใหม่ Bht. Salary Line ค่าจ้างเริ่มต้นใหม่ =15,000 ค่าจ้างเริ่มต้นเดิม =12,000 สูตรการปรับ จำนวนเงินปรับ = ค่าจ้างเริ่มต้นใหม่ - ค่าจ้างปัจจุบันของแต่ละคน (เฉพาะคนที่ค่าจ้างต่ำกว่าค่าจ้างเริ่มต้นใหม่)
วิธีที่ 2 ปรับทุกคนตามจำนวนเงินที่เพิ่มขึ้น Bht. Salary Line ใหม่ Salary Line เก่า ค่าจ้างเริ่มต้นใหม่ =15,000 ค่าจ้างเริ่มต้นเดิม =12,000 สูตรการปรับ จำนวนเงินปรับ = ค่าจ้างเริ่มต้นใหม่ - ค่าจ้างเริ่มต้นปัจจุบัน
วิธีที่ 3 ปรับแบบ Declining Rate Bht. Salary Line จุดสมมุติ =18,000 ค่าจ้างเริ่มต้นใหม่ =15,000 ค่าจ้างเริ่มต้นเดิม =12,000 สูตรหาจุดสมมุติ (ค่าจ้างเริ่มต้นใหม่ - ค่าจ้างเริ่มต้นเก่า) + ค่าจ้างเริ่มต้นใหม่ สูตรการปรับ จำนวนเงินปรับ = (จุดสมมุติ – ค่าจ้างปัจจุบันของแต่ละคน) /2
ตัวอย่างการคำนวนการปรับผลกระทบเนื่องจากปรับค่าจ้างเริ่มต้นตัวอย่างการคำนวนการปรับผลกระทบเนื่องจากปรับค่าจ้างเริ่มต้น ค่าจ้างเริ่มต้นเดิม 12,000- ค่าจ้างเริ่มต้นใหม่ 15,000 – ค่าจ้างจุดตัดผู้ได้รับผลกระทบ 18,000 – สูตร เงินปรับ = (จุดตัด - ค่าจ้างปัจจุบัน) / 2 นาย ก. ค่าจ้างปัจจุบัน = 12,000 เงินปรับ =(18,000 - 12,000) / 2 =3,000 นาย ข. ค่าจ้างปัจจุบัน = 13,000 เงินปรับ =(18,000 - 13,000) / 2 =2,500
Pay Now or Future Leading Market Competitive Past 3 Years
Changing of Mindset in Compensation Management A Company B Company 40,000 MP = 30,000 MP = 30,000 29,000 26,000 23,000 20,000
แนวคิดการบริหารค่าจ้างด้วย Target Salary Normal Target at Mid Point HP Target at P75 Max P75 Mid Point P25 Min
HR Trend 2011 - 2015 • Self Learning (DIY) • Learning on Mobile and • Social Media • Project Based Learning • Employer of Choice • Source of Manpower • Interview Online • AEC Manpower Effect Talent Sourcing Development Motivate & Engage Performance • Generation Blend • Engagement • Mixed Compensation • Work & Life Integration • Result Based Evaluation • Daily Feedback
สรุป • ผลกระทบต่อต้นทุนโดยประมาณ 1.5% • ประเด็นสำคัญอยู่ที่การสร้างประสิทธิภาพให้สูงขึ้น • อย่าเสียค่าโง่ จ้างแพงขึ้นก็ต้องได้คนดีขึ้นด้วย • ถึงเวลารีดไขมัน • HR Professional ต้องช่วยในการปรับเปลี่ยนมุมมองให้องค์กร • มันไม่ใช่ปัญหา แต่มันคือโอกาส
Q & A wisarut@him.co.th Tel 02 9539972 Visit us at : http://www.him.co.th