650 likes | 775 Views
การผสมผสานสนามแรงที่โปรแกรมได้ เพื่อการจัดวัตถุบนระนาบแบบเร็ว Combination of Programmable Force Fields for Fast Planar Part Manipulation. Peerapong Thonnagith Department of Computer Engineering Chulalongkorn University. วัตถุประสงค์.
E N D
การผสมผสานสนามแรงที่โปรแกรมได้เพื่อการจัดวัตถุบนระนาบแบบเร็วการผสมผสานสนามแรงที่โปรแกรมได้เพื่อการจัดวัตถุบนระนาบแบบเร็ว Combination of Programmable Force Fields for Fast Planar Part Manipulation Peerapong Thonnagith Department of Computer Engineering Chulalongkorn University
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเคลื่อนที่ของวัตถุภายใต้สนามแรงรูปแบบต่างๆ ในเชิงของการเปรียบเทียบเวลาที่ใช้ในการเข้าสู่สภาวะสมดุลที่มีเสถียรภาพ และใช้ผลการศึกษา ในการออกแบบวิธีการผสมผสานสนามแรงรูปแบบใหม่ ที่ทำให้สามารถจัดวัตถุเข้าสู่ตำแหน่งและทิศทางที่ต้องการได้เร็วขึ้นกว่าสนามแรงที่มีอยู่ในปัจจุบัน โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือตรวจจับใดๆ ในระหว่างที่จัดวัตถุ
สนามแรงที่โปรแกรมได้ แนวคิด Programmable Force Field [Bohringer1994] • เป็นแบบจำลองที่อธิบายเครื่องจัดวัตถุอยู่ในรูปของพื้นระนาบ 2 มิติที่ ณ แต่ละจุด สามารถสร้างแรงในแนวขนานกับแนวระนาบนั้น • แรงเนื่องจากแต่ละจุดบนระนาบ กระทำต่อพื้นผิววัตถุที่สัมผัสกับพื้นระนาบ รวมกันเป็นแรงลัพธ์และทอร์กลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุ [ Picture by Bohringer and Donald]
สนามแรงที่โปรแกรมได้(cont.)สนามแรงที่โปรแกรมได้(cont.) • นิยามพื้นฐาน : กำหนดให้ • : ความหนาแน่นต่อพื้นที่ของวัตถุ • A : พื้นที่วัตถุ • Iz : โมเมนต์ความเฉื่อย (moment of inertia) ของวัตถุ • x○y : ระบบพิกัดของจุดบนระนาบสนามแรง ซึ่งอยู่ในรูป (x, y) ใดๆ • X○Y : ระบบพิกัดของระนาบวัตถุ อยู่ในรูป (X, Y) โดยที่จุด (0,0) อยู่ที่จุดศูนย์กลางมวล • (xc,yc, ) : configuration ที่อธิบายถึงตำแหน่งและทิศทางของวัตถุบนระนาบสนามแรง โดยที่ • (xc,yc) เป็นตำแหน่งของจุดศุนย์กลางมวลบนระนาบสนามแรง • เป็นมุมที่แกนระนาบของวัตถุทำกับแกนระนาบของสนามแรง • : แรงเนื่องจากสนามแรง ณ จุด (x, y) ใดๆ • F , T : แรงลัพธ์ / ทอร์กลัพธ์ ที่ศูนย์กลางมวลของวัตถุ เนื่องมาจากสนามแรง
สนามแรงที่โปรแกรมได้(cont.)สนามแรงที่โปรแกรมได้(cont.) Y y X yc xc x
สนามแรงที่โปรแกรมได้(cont.)สนามแรงที่โปรแกรมได้(cont.) • นิยามพื้นฐาน : กำหนดให้ • : ความหนาแน่นต่อพื้นที่ของวัตถุ • A : พื้นที่วัตถุ • Iz : โมเมนต์ความเฉื่อย (moment of inertia) ของวัตถุ • x○y : ระบบพิกัดของจุดบนระนาบสนามแรง ซึ่งอยู่ในรูป (x, y) ใดๆ • X○Y : ระบบพิกัดของระนาบวัตถุ อยู่ในรูป (X, Y) โดยที่จุด (0,0) อยู่ที่จุดศูนย์กลางมวล • (xc,yc, ) : configuration ที่อธิบายถึงตำแหน่งและทิศทางของวัตถุบนระนาบสนามแรง โดยที่ • (xc,yc) เป็นตำแหน่งของจุดศุนย์กลางมวลบนระนาบสนามแรง • เป็นมุมที่แกนระนาบของวัตถุทำกับแกนระนาบของสนามแรง • : แรงเนื่องจากสนามแรง ณ จุด (x, y) ใดๆ • F , T : แรงลัพธ์ / ทอร์กลัพธ์ ที่ศูนย์กลางมวลของวัตถุ เนื่องมาจากสนามแรง
สนามแรงที่โปรแกรมได้(cont.)สนามแรงที่โปรแกรมได้(cont.) แรงลัพธ์ / ทอร์กลัพธ์เนื่องจากสนามแรง สำหรับในกรณีของวัตถุเกร็ง (rigid body) P ใดๆ นั้น เราสามารถหาแรงลัพธ์และทอร์กลัพธ์เนื่องจากสนามแรงที่กระทำต่อวัตถุได้จาก และ
สนามแรงที่โปรแกรมได้(cont.)สนามแรงที่โปรแกรมได้(cont.) แบบจำลองความเสียดทาน ระหว่างสนามแรงกับผิววัตถุ “Viscous Friction Model” [Luntz1997], [Luo & Kavraki 2000] : สัมประสิทธิ์ความเสียดทานแบบ Viscous v(x,y) : ความเร็วของวัตถุ ณ จุด (x, y) ใดๆ
สนามแรงที่โปรแกรมได้(cont.)สนามแรงที่โปรแกรมได้(cont.) ผลของแรงและทอร์กลัพธ์ที่ได้ ที่จะส่งผลต่อวัตถุ ตาม Newton’s 2nd Law : เงื่อนไขการเข้าสู่สมดุลอย่างมีเสถียรภาพของวัตถุ : Translation Rotation
การจัดวัตถุด้วยสนามแรงชุดเดียว (cont.) • Elliptic Field [Kavraki 1997, Bohringer et al. 2000] โดยที่ ξ, η > 0 และ ξ≠ η ตัวอย่าง ξ=1, η=2
การจัดวัตถุด้วยสนามแรงชุดเดียว (cont.) • Unit Radial & Constant Field [Lamirux & Kavraki 2000, Bohringer et al. 2000] สนามแรงชุดนี้ประกอบด้วย 2 ส่วน - Unit Radial Field - Constant Field ตัวอย่าง h=1, c=1, c=3/2
การจัดวัตถุด้วยสนามแรงชุดเดียว (cont.) • Unit Radial & Constant Field [Lamirux & Kavraki 2000, Bohringer et al. 2000] ในกรณีที่มีแต่ Unit Radial Field อย่างเดียว (c=0) configuration ที่ภาวะสมดุล จะมีจุดบนวัตถุจุดหนึ่ง อยู่ตรงกับจุดศูนย์กลางของ Unit Radial Field เสมอ จุดดังกล่าวนี้ จะเรียกว่า pivot point ของวัตถุภายใต้ Unit Radial Field
การจัดวัตถุด้วยสนามแรงชุดเดียว (cont.) • Unit Radial, Radial & Constant Field [Sudsang & Kavraki 2001,Sudsang 2002] สนามแรงชุดนี้ประกอบด้วย 3 ส่วน - Unit Radial Field - Radial Field - Constant Field โดยที่ k เป็นค่าคงที่ตัวเดียวกับที่อยู่ใน radial Field d เป็นค่าคงที่เฉพาะ **
การจัดวัตถุด้วยสนามแรงชุดเดียว (cont.) • Unit Radial, Radial & Constant Field [Sudsang & Kavraki 2001,Sudsang 2002] ทั้งนี้ ค่า d และ configuration ที่ภาวะสมดุลของวัตถุ เกี่ยวข้องกับสนามแรงอีกชุด ที่ประกอบด้วย - Unit Radial Field - Radial Field ซึ่ง configuration ที่ภาวะสมดุลภายใต้สนามแรงชุดนี้ ก็มีจุดคงที่บนวัตถุตรงกับศูนย์กลางของสนามแรงเสมอเช่นกัน เหมือนกับในกรณีของ Unit Radial Field โดยจะขอเรียกเป็น pivot point ภายใต้สนามแรง Unit Radial & Radial Field ในทำนองเดียวกัน
การจัดวัตถุด้วยสนามแรงชุดเดียว (cont.) • Unit Radial, Radial & Constant Field [Sudsang & Kavraki 2001,Sudsang 2002] จากรูป ถ้าให้ p เป็น pivot point ภายใต้สนามแรงUnit Radial & Radial Field ดังกล่าวและ o เป็นจุดศูนย์กลางมวลของวัตถุ เราจะได้ว่า และ configuration ที่ภาวะสมดุลภายใต้ Unit Radial, Radial & Constant Field จะมีเพียง configuration เดียว โดยที่ - จุด p จะอยู่ตรงกับจุดศูนย์กลางของสนามแรงส่วนที่เป็น Unit Radial และ Radial Field - ทิศทางของเวคเตอร์ po จะเป็นทิศทางเดียวกับทิศทางของสนามแรงส่วนที่เป็น Constant Field p o
เครื่องมือที่ใช้หลักการของสนามแรงเครื่องมือที่ใช้หลักการของสนามแรง • MEMS: Böhringer, Donald, McDonald 94-99 • Arrays of directed air jets: Berlin et al. 98-99 • Arrays of small motors, Messner et al. 97-00 • Vibrating plates, Reznik and Canny 98-01 • Elliptic Airflow Field, Luntz et al. 03-05 • etc. [Pictures by Bohringer, Donald, Luntz, etc]
เครื่องมือที่ใช้หลักการของสนามแรง(cont.)เครื่องมือที่ใช้หลักการของสนามแรง(cont.) แรงที่สร้างขึ้นจากเครื่องมือต่างๆ นั้น เกือบทั้งหมดเป็นแบบ “ไม่ต่อเนื่อง” สนามแรงที่คิดค้นขึ้นส่วนใหญ่ จึงแทบไม่เคยได้รับการทดสอบการทำงานจริง งานวิจัยเกี่ยวกับสนามแรงส่วนใหญ่ แทบไม่ได้กล่าวถึงเวลาที่วัตถุใช้ในการเข้าสู่สมดุลเลย Force Field Simulator
โปรแกรมจำลองสถานการณ์โปรแกรมจำลองสถานการณ์ โครงสร้างของ Force Field Simulator ตัวเดิมโดยรวม [Peam & Peerapong 2003] ทั้งนี้ ในวิทยานิพนธ์นี้ได้ทำการปรับปรุงส่วนประมวลผลขึ้นใหม่ (กรอบสีแดง)
การทดสอบสนามแรง ข้อมูลวัตถุ / ภาวะแวดล้อมในการทดสอบ การทดสอบสนามแรงแต่ละรูปแบบ จะทำการทดสอบกับวัตถุรูปร่างต่างๆ ทั้งสิ้น 10 ตัวอย่าง ดังรูป โดยที่สำหรับวัตถุแต่ละรูป จะทำการสุ่ม configuration เริ่มต้นวัตถุละ 100 ตัวอย่าง เพื่อเก็บข้อมูลการทดสอบ ทั้งนี้ ทุกการทดสอบจะกระทำโดยกำหนดตัวแปรภาวะแวดล้อมเหมือนๆ กัน เพื่อให้ผลการทดสอบที่ได้ สามารถเปรียบเทียบกันได้โดยตรง D A B C G E F J I H
การทดสอบสนามแรง(cont.) การทดสอบการจัดวัตถุด้วย Elliptic Field โดยที่กำหนดให้ ξ=1, η=2ผลการทดสอบพบว่าทุกวัตถุมี configuration ที่วัตถุจะหยุดที่เป็นไปได้ 2 configurations เสมอ ดังรูป
การทดสอบสนามแรง(cont.) การทดสอบการจัดวัตถุด้วย Elliptic Field ทั้งนี้ มีจุดที่น่าสนใจอย่างหนึ่ง คือ ทิศทางของ configuration ที่วัตถุจะหยุดนั้น สามารถจำแนกได้ตามทิศทางของ configuration เริ่มต้นของวัตถุ ดังกราฟ
การทดสอบสนามแรง(cont.) การทดสอบการจัดวัตถุด้วย Elliptic Field ทั้งนี้ มีจุดที่น่าสนใจอย่างหนึ่ง คือ ทิศทางของ configuration ที่วัตถุจะหยุดนั้น สามารถจำแนกได้ตามทิศทางของ configuration เริ่มต้นของวัตถุ ดังกราฟ
การทดสอบสนามแรง(cont.) การทดสอบการจัดวัตถุด้วย Elliptic Field ในส่วนของเวลาที่ใช้นั้น ได้ผลเป็นดังในตาราง
การทดสอบสนามแรง(cont.) การทดสอบการจัดวัตถุด้วย Elliptic Field ตัวอย่างกราฟพลังงานกลรวมของวัตถุ ณ เวลาต่างๆ ขณะที่อยู่ภายใต้ Elliptic Field
การทดสอบสนามแรง(cont.) การทดสอบการจัดวัตถุด้วย Unit Radial & Constant Field ในการทดสอบ เมื่อกำหนดให้ h=10 และ c=0.2 ผลการทดสอบพบว่า ทุกวัตถุมี configuration ที่วัตถุจะหยุดที่เป็นไปได้เพียง configuration เดียว ดังรูป
การทดสอบสนามแรง(cont.) การทดสอบการจัดวัตถุด้วย Unit Radial & Constant Field อย่างไรก็ตาม เมื่อกำหนดให้ h=10 และ c=0.8 ปรากฏว่า มีบางวัตถุมี configuration ที่วัตถุจะหยุดที่เป็นไปได้ มีจำนวนเพิ่มขึ้นและต่างไปจากเดิม ดังรูป
การทดสอบสนามแรง(cont.) การทดสอบการจัดวัตถุด้วย Unit Radial & Constant Field ในส่วนของเวลาที่ใช้ในกรณีที่ h=10, c=0.2 นั้น ได้ผลเป็นดังในตาราง
การทดสอบสนามแรง(cont.) การทดสอบการจัดวัตถุด้วย Unit Radial & Constant Field ตัวอย่างกราฟพลังงานกลรวมของวัตถุ ณ เวลาต่างๆ ขณะที่อยู่ภายใต้ Unit Radial & Constant Field
การทดสอบสนามแรง(cont.) การทดสอบการจัดวัตถุด้วย Unit Radial, Radial & Constant Field ในการทดสอบ เมื่อกำหนดให้ h=10, k=1, c=0.01 เราสามารถหาค่า d สำหรับแต่ละวัตถุได้ดังตาราง
การทดสอบสนามแรง(cont.) การทดสอบการจัดวัตถุด้วย Unit Radial, Radial & Constant Field ผลการทดสอบ พบว่า configuration ที่วัตถุหยุดสำหรับแต่ละวัตถุ มีเพียง configuration เดียว ดังรูป
การทดสอบสนามแรง(cont.) การทดสอบการจัดวัตถุด้วย Unit Radial, Radial & Constant Field ในส่วนของเวลาที่ใช้นั้น ได้ผลเป็นดังในตาราง
การทดสอบสนามแรง(cont.) การทดสอบการจัดวัตถุด้วย Unit Radial & Constant Field ทั้งนี้ จากการวิเคราะห์กราฟพลังงานกลรวมของวัตถุ ณ เวลาต่างๆ ขณะที่อยู่ภายใต้ Unit Radial, Radial & Constant Field นั้น จะพบว่า เวลาเกือบทั้งหมด เป็นส่วนของการปรับทิศทางของวัตถุแทบทั้งสิ้น
การทดสอบสนามแรง(cont.) การทดสอบการจัดวัตถุด้วย Unit Radial & Constant Field ทั้งนี้ จากการวิเคราะห์กราฟพลังงานกลรวมของวัตถุ ณ เวลาต่างๆ ขณะที่อยู่ภายใต้ Unit Radial, Radial & Constant Field นั้น จะพบว่า เวลาเกือบทั้งหมด เป็นส่วนของการปรับทิศทางของวัตถุแทบทั้งสิ้น
การทดสอบสนามแรง(cont.) เปรียบเทียบผลการจัดวัตถุของสนามแรงทั้ง 3 แบบ
การออกแบบชุดสนามแรงใหม่การออกแบบชุดสนามแรงใหม่ เป้าหมายในการออกแบบชุดสนามแรงใหม่ • Configuration ที่วัตถุจะหยุดที่ภาวะสมดุลภายใต้ชุดสนามแรงใหม่ มีเพียง configuration เดียว และสามารถทำนายได้ • เวลาที่ใช้ในการจัดวัตถุ จะต้องน้อยกว่าเวลาที่ใช้สำหรับกรณีของ Unit Radial, Radial & Constant Field ซึ่งให้ผลลัพธ์ในเรื่องของ configuration ที่เป็นไปได้ของวัตถุเทียบเท่ากัน • ไม่มีการใช้อุปกรณ์ตรวจจับวัตถุระหว่างที่กำลังจัดวัตถุอยู่
การออกแบบชุดสนามแรงใหม่(cont.)การออกแบบชุดสนามแรงใหม่(cont.) แนวคิดเบื้องต้นในการออกแบบชุดสนามแรงใหม่ • คุณสมบัติที่น่าสนใจของ Elliptic Field ที่ได้จากการทดสอบ “ทิศทางของ configuration ที่ภาวะสมดุล ขึ้นอยู่กับทิศทางของ configuration เริ่มต้น” • ดังนั้น ถ้าเราสามารถหาวิธีระบุทิศทางของ configuration ก่อนจะใช้ Elliptic Field จัดวัตถุแล้ว ก็จะสามารถลด configuration ที่เป็นไปได้ที่ภาวะสมดุลให้เหลือเพียง configuration เดียวได้
การออกแบบชุดสนามแรงใหม่(cont.)การออกแบบชุดสนามแรงใหม่(cont.) แนวคิดเบื้องต้นในการออกแบบชุดสนามแรงใหม่ • การหาวิธีระบุทิศทางของ configuration ของวัตถุก่อนจะใช้ Elliptic Field จัดวัตถุนั้น อาจจะทำได้โดย • จัดวัตถุด้วย Elliptic Field อีกชุด ที่ทิศทางของ configuration ที่ภาวะสมดุลที่เป็นไปได้นั้น ตั้งฉากกับทิศทางของ configuration ที่ภาวะสมดุลภายใต้ Elliptic Field ที่จะใช้ในขั้นตอนท้ายสุด ซึ่งก็คือ Elliptic Field ที่มีทิศทางของแกนราบสนามแรง ตั้งฉาก กับ Elliptic Field ในขั้นตอนท้ายสุด • ใช้สนามแรงบางชุด “หมุน” วัตถุให้ทิศทางโน้มไปยัง ทิศทางของ configuration ที่ภาวะสมดุลภายใต้ Elliptic Field ในขั้นตอนท้ายสุดนั้น
Elliptic 2 Elliptic 1 การออกแบบชุดสนามแรงใหม่(cont.) ?? SomeFields Time 0 t1 t1 + t2
Elliptic 2 Elliptic 1 การวิเคราะห์ชุดสนามแรงใหม่(cont.) ?? SomeFields Time 0 t1 t1 + t2 การวิเคราะห์ 1 : เวลา t1ที่ใช้สำหรับ Elliptic Field ใน Step1 นั้น สามารถคำนวณได้ล่วงหน้า
การวิเคราะห์ชุดสนามแรงใหม่:การวิเคราะห์ 1 • การหาเวลาเฉพาะการเคลื่อนที่ของวัตถุภายใต้ Elliptic Field • จากแรงลัพธ์เนื่องจาก Elliptic Field เมื่อวัตถุอยู่ที่ (xc,yc,)ใดๆ จะได้ว่า : • แทนค่าลงในสมการของ Newton’s 2nd Law เพื่อหาการเคลื่อนที่ของวัตถุเฉพาะในแนวแกน x : Positon of COM Velocity Acceleration
การวิเคราะห์ชุดสนามแรงใหม่:การวิเคราะห์ 1 • หาเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ภายใต้ Elliptic Field ในแนวแกน x : • ซึ่งในแนวแกน y ก็จะได้ผลในลักษณะเดียวกัน
การวิเคราะห์ชุดสนามแรงใหม่:การวิเคราะห์ 1 • ในกรณีอุดมคติ ค่าของ (xc(tx), yc(tx)) เป็นตำแหน่งของจุดศูนย์กลางมวลบนระนาบสนามแรงเมื่อวัตถุ เข้าสู่สมดุล หรือก็คือ (0,0) ซึ่งจะทำให้เวลาที่ได้เป็นอนันต์ • ในทางปฏิบัติ เราอาจกำหนดให้ตำแหน่งของศูนย์กลางมวลของวัตถุที่ภาวะสมดุล มีค่าคลาดเคลื่อนเป็นx, y ซึ่งมีค่าน้อยๆ ที่ยอมรับได้ ก็จะได้ว่า • เมื่อttranslateคือเวลาที่ใช้เฉพาะในการเคลื่อนที่ของวัตถุภายใต้ Elliptic Field
การวิเคราะห์ชุดสนามแรงใหม่:การวิเคราะห์ 1 • การหาเวลาเฉพาะการหมุนของวัตถุภายใต้ Elliptic Field • พิจารณาทอร์กลัพธ์เนื่องจาก Elliptic Field เมื่อวัตถุอยู่ที่ (xc,yc,)ใดๆ : • กระจายพจน์ลงไปและจัดรูปใหม่ : • โดยที่
การวิเคราะห์ชุดสนามแรงใหม่:การวิเคราะห์ 1 • แทนค่าของ T**E() ลงในสมการของ Newton’s 2nd Law : Angular acceleration , Rotation difference Angular velocity
การวิเคราะห์ชุดสนามแรงใหม่:การวิเคราะห์ 1 • การหาเวลาเฉพาะการหมุนของวัตถุภายใต้ Elliptic Field (ต่อ) • ได้สมการออกมาในท้ายที่สุดเป็น : • ซึ่งไม่สามารถแก้สมการหาผลเฉลยได้โดยตรง • ใช้การหาผลเฉลย ด้วย numerical methodได้เป็น N ( t ) • หาค่า เวลา tRotate ที่ทำให้ |N( tRotate ) |≤ ซึ่งมีค่าน้อยๆ
Elliptic 2 Elliptic 1 การวิเคราะห์ชุดสนามแรงใหม่(cont.) ?? SomeFields Time 0 t1 t1 + t2 การวิเคราะห์ 2 : ทิศทางของ configuration เริ่มต้นของวัตถุ มีผลต่อทิศทางของconfiguration ที่ภาวะสมดุลของวัตถุภายใต้ Elliptic Field
การวิเคราะห์ชุดสนามแรงใหม่:การวิเคราะห์ 2 • ผลของทิศทางของ configuration เริ่มต้นที่มีต่อทิศทางของ configuration ที่ภาวะสมดุลของวัตถุภายใต้ Elliptic Field • จากสมการของทอร์กลัพธ์เนื่องจาก Elliptic Field : • ซึ่งกราฟของทอร์กลัพธ์ดังกล่าวจะมีรูปร่างดังรูป
การวิเคราะห์ชุดสนามแรงใหม่:การวิเคราะห์ 2 • ผลของทิศทางของ configuration เริ่มต้นที่มีต่อทิศทางของ configuration ที่ภาวะสมดุลของวัตถุภายใต้ Elliptic Field • จากสมการของทอร์กลัพธ์เนื่องจาก Elliptic Field : • ซึ่งกราฟของทอร์กลัพธ์ดังกล่าวจะมีรูปร่างดังรูป
Elliptic 2 Elliptic 1 การวิเคราะห์ชุดสนามแรงใหม่(cont.) ?? SomeFields Time 0 t1 t1 + t2 การวิเคราะห์ 3 : สนามแรงในขั้นตอน Step2 สามารถหมุนวัตถุให้โน้มไปในทิศทาง เดียวได้จริง และสามารถหาเวลาที่ต้องใช้ได้
x การวิเคราะห์ชุดสนามแรงใหม่:การวิเคราะห์ 3 • การหาสนามแรงสำหรับเปลี่ยนทิศทางของวัตถุ • ถ้าเลือกใช้สนามแรงซึ่งให้แรง ณ แต่ละจุดบนระนาบสนามแรงเป็น : • (ทั้งนี้ เพื่อความสะดวกในการอ้างอิง จึงขอเรียกสนามแรงลักษณะดังกล่าวนี้ว่า Parabolic Field) y