390 likes | 738 Views
“ การประกันคุณภาพ สถานรับเลี้ยงเด็ก ” ( Quality Assurance for Child Care Center ). โดย รองศาสตราจารย์ ดร . พิทยา ภรณ์ มานะจุติ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช ภัฎ เชียงใหม่. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ . 2542. มาตรา 13 ( 1 ) ผู้ปกครองมีสิทธิในการอบรมเลี้ยงดูและ ให้การศึกษาแก่บุตร
E N D
“การประกันคุณภาพ สถานรับเลี้ยงเด็ก”(Quality Assurance for Child Care Center) โดย รองศาสตราจารย์ ดร. พิทยาภรณ์ มานะจุติ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 13 (1)ผู้ปกครองมีสิทธิในการอบรมเลี้ยงดูและ ให้การศึกษาแก่บุตร มาตรา 14 (1) บุคคลและองค์กรที่สนับสนุนการจัด การศึกษามีสิทธิได้รับการสนับสนุนจากรัฐ มาตรา 18 จัดการศึกษาปฐมวัย 3 ลักษณะ 1. สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย 2. โรงเรียน 3. ศูนย์การเรียนรู้
มาตรา 47ให้มีระบบการประกันคุณภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย - ระบบประกันคุณภาพภายใน (ใช้มาตรฐานและตัวบ่งชี้ของศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก : สท) - ระบบประกันคุณภาพภายนอก (ใช้มาตรฐานและตัวบ่งชี้ของสำนักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา : สมศ.)
การประกันคุณภาพภายนอก(External Quality Assurance) • ประเมินและรับรองโดย สำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) • เน้นคุณภาพของเด็ก 2 – 5 ปี • ทำการประเมินมาแล้ว 2 วงรอบ วงรอบต่อไปคือวงรอบที่ 3 (2554 - 2558)
ประกอบด้วย 12 ตัวบ่งชี้ • อิงเกณฑ์ตามจุดเน้นของสถานศึกษา • ประเมินผลโดยสอดคล้องกันระหว่างการจัดการศึกษา และการเรียนการสอน • ประเมินข้อมูลทั้งเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพและเชิง ประจักษ์ • ประเมินเพื่อยืนยันผลประเมินของผู้รับประเมิน • สามารถเทียบตัวบ่งชี้และมาตรฐานระหว่างการประเมิน ภายนอกและภายในได้
การประกันคุณภาพภายใน(Internal Quality Assurance) • ดำเนินการส่งเสริมกับตัวบ่งชี้ 8.1 ของการประกัน คุณภาพภายนอก “ระบบการประกันคุณภาพภายใน โดยในสถานศึกษาหรือหน่วยงานที่มีหน้าที่กำกับดูแลสถานศึกษา” • ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน 14 ตัวบ่งชี้
ศูนย์เด็กเล็ก เป็นสถานศึกษาประเภทหนึ่ง • ความสำเร็จของระบบประกันคุณภาพภายใน ของสถานศึกษาที่นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาและรองรับการ ประกันคุณภาพภายนอก (รวม การประเมิน คุณภาพการศึกษาและการพัฒนา คุณภาพ การศึกษา)
เกณฑ์พิจารณาในการประเมินเกณฑ์พิจารณาในการประเมิน • การวางแผนปฏิบัติงาน (Action plan) ที่ครอบคลุม ทุกปัจจัยรวมถึงระบบบริหารและสารสนเทศ • การปฏิบัติตามแผน นิเทศ ติดตาม ประเมินและพัฒนา โดยจัดทำรายงานประเมิน (Salt Assessment Report) • การนำผลประเมินไปปรับปรุง • ประเมินการมีส่วนร่วม การตรวจสอบถ่วงดุล และเสนอ ผลลัพธ์ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ มาจากไหน ? • ความตื่นตัวของหน่วยงาน ภาครัฐและ เอกชน ในการเปิดกิจการศูนย์เด็กเล็ก เพื่อ การให้บริการแก่ครอบครัวในการเลี้ยงดูเด็ก • การทำหน้าที่ของสถาบันทางสังคมโดย ผู้เชี่ยวชาญ
การกำหนดกรอบมาตรฐานการดำเนินงานของศูนย์ ฯ เพื่อควบคุมคุณภาพการให้บริการเป็นเรื่องที่สำคัญและ ต้องดำเนินงาน การตอบสนองสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็กในการได้รับการ ดูแลที่มีคุณภาพ
กระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ได้รับมอบหมายให้ดำเนินการยกระดับศูนย์เด็ก เล็กให้เป็นรูปธรรม ตามนโยบายสำคัญของรัฐ • สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาสและผู้สูงอายุ (สท.)ได้รับมอบหมายให้ ประสานการจัดทำ มาตรฐานกลางที่เป็นของชาติ
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต จัดทำ (ร่าง) มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กและทดลองใช้ • มีการปรับมาตรฐานให้สอดคล้องกับระบบการประเมิน ของ สมศ. โดยผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานต่างๆ ร่วม พิจารณาและปรับปรุง
หน่วยงานที่มีส่วนในการพิจารณามาตรฐานหน่วยงานที่มีส่วนในการพิจารณามาตรฐาน • กรมอนามัย (กระทรวงสาธารณสุข) • กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น (มหาดไทย) • กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ • สำนักพัฒนาสังคม (กทม.) • สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (ส.กศ.) • สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) • สำนักงานรับรองมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา (สมศ.)
สถาบันการศึกษาที่มีส่วนร่วมจัดทำร่างมาตรฐานสถาบันการศึกษาที่มีส่วนร่วมจัดทำร่างมาตรฐาน • มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • สถาบันแห่งชาติ เพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัวมหาวิทยาลัยมหิดล
องค์ประกอบของเกณฑ์มาตรฐานองค์ประกอบของเกณฑ์มาตรฐาน ด้านที่ 1 การบริหารจัดการที่ดี ด้านที่ 2กระบวนการบริการหรือการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ของเด็กที่มีคุณภาพ ด้านที่ 3ประสิทธิผลจากการดำเนินงาน
มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ การประกันคุณภาพภายใน การประกันคุณภาพภายนอก การนำมาตรฐานไปใช้ดำเนินงาน กำกับโดยวงจร PDCA การประเมินตนเองตามมาตรฐาน โดยตนเอง : ภายใน โดย สมศ. : ภายนอก การนำผลประเมินมาปรับปรุง เริ่มวงรอบประเมิน วงรอบใหม่
หลักการสำคัญของการประกันคุณภาพหลักการสำคัญของการประกันคุณภาพ ทำความเข้าใจกับนิยามศัพท์ มาตรฐาน =แนวทางหรือเครื่องมือในการ ประเมินผลการดำเนินงาน ศูนย์เด็กเล็ก
ศูนย์เด็กเล็ก= ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก , สถานรับเลี้ยงเด็ก หรือชื่ออื่นๆ ครู= ครูผู้ดูแลเด็กเล็ก ครูพี่เลี้ยง ที่ทำหน้าที่ ในการอบรมเลี้ยงดู พัฒนาการเรียนรู้ จัดกระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมการ เรียนรู้ ให้แก่เด็กตามวัย
การประกันคุณภาพภายใน = การประเมินผลและติดตาม ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา โดยบุคลากรภายในสถานศึกษานั้นๆ หรือ โดยหน่วยงานต้นสังกัด การประกันคุณภาพภายนอก = การประเมินผลและมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาโดยบุคคลหรือ หน่วยงานภายนอก (สำนักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา สมศ.)
ตัวบ่งชี้ = ตัวประกอบ ตัวแปร ค่าที่สังเกตได้ ซึ่งบ่ง บอกสถานภาพหรือสะท้อนลักษณะการ ดำเนินงาน หรือผลการดำเนินงานที่ สามารถวัดและสังเกตได้ ทั้งเชิงปริมาณ คุณภาพในประเด็นที่วัด
เกณฑ์การพิจารณา= มาตรวัดของแต่ละตัวบ่งชี้ คุณภาพที่พัฒนาจาก เกณฑ์และแนวปฏิบัติที่ เป็นมาตรฐานเกณฑ์การพิจารณา= มาตรวัดของแต่ละตัวบ่งชี้ คุณภาพที่พัฒนาจาก เกณฑ์และแนวปฏิบัติที่ เป็นมาตรฐาน
วงจรคุณภาพ PDCA ประกอบด้วย • การวางแผน (Plan) • การดำเนินงานตามแผน(Do) • การตรวจสอบประเมิน (Check) • การนำผลการประเมินมาปรับปรุงให้ดีขึ้น (Action)
เด็กปฐมวัย = เด็กแรกเกิด – 5ปี 11 เดือน 29 วัน
การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม ระดับปฐมวัย • วัยแรกเกิด – 2 ปี • วัย 2-5 ปี
การวางระบบกลไกการประกันคุณภาพการวางระบบกลไกการประกันคุณภาพ ระบบ (system) =การกำหนดรูปแบบวิธีการ ดำเนินงานที่เป็นขั้นตอนต่อเนื่อง ประกอบด้วยขั้น - ปัจจัยนำเข้า (Input) - กระบวนการ (Process) - ผลผลิต , ผลลัพธ์ (Output) - ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback)
กลไก (Mechanism)=การกำกับ ดูแล ผลักดัน ขับเคลื่อน ให้มีการดำเนินการตามระบบ โดย บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ได้รับ มอบหมายทั้งที่เป็นหรือไม่เป็น ลายลักษณ์อักษร แต่ต้องมีร่องรอย หลักฐานการดำเนินงาน
องค์ประกอบของระบบ • การวางกรอบงาน • การวางแผนปฏิบัติงาน • การจัดเตรียมเครื่องมือดำเนินงาน , คู่มือ • การออกคำสั่งแต่งตั้ง กรรมการดำเนินงาน • การกำหนดข้อบังคับ ระเบียบปฏิบัติ กฎต่างๆ
องค์ประกอบของกลไก • การนิเทศ ติดตาม ประเมิน การดำเนินงาน • วาระการประชุมขับเคลื่อนงานและบันทึกการประชุม • เครื่องมือใช้ดำเนินงาน เครื่องมือใช้กำกับงานแบบมีส่วนรวม • การเก็บร่องรอยหลักฐานการดำเนินงาน (เอกสาร ภาพถ่าย สภาพจริง ผลงาน ชิ้นงาน) • การประเมินผลการดำเนินงานเพื่อตรวจสอบถ่วงดุล
หัวใจของการประกันคุณภาพภายในหัวใจของการประกันคุณภาพภายใน • ความต่อเนื่อง • ความสม่ำเสมอ • การศึกษาและประเมินตนเอง • การสะท้อนภาพความสำเร็จการดำเนินงาน 3 ด้าน • การบริหารจัดการ • การจัดกระบวนการเรียนรู้ • คุณภาพเด็ก 4 ด้าน
หลักสำคัญของการประกันคุณภาพภายในหลักสำคัญของการประกันคุณภาพภายใน ต่อเนื่อง ผสมผสาน การประกันคุณภาพภายใน ประเมินเพื่อพัฒนา ให้ผู้เรียนเป็นสำคัญ
วงจร PDCA • การวางแผน (Plan) • กำหนดมาตรฐานและตัวบ่งชี้ • นำผลประเมินมาปรับปรุง • จัดลำดับความสำคัญของมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ • กำหนดแนวทาง ระยะเวลา งบประมาณ และผู้รับผิดชอบการดำเนินงาน
2. การดำเนินงานตามแผน (Do) ส่งเสริม สนับสนุน จัดสิ่งอำนวยความสะดวก / ทรัพยากร กำกับติดตาม ให้การนิเทศ
3. การตรวจสอบประเมินผล (Check) • วางกรอบการประเมิน • จัดหาหรือจัดทำเครื่องมือ • เก็บข้อมูล • วิเคราะห์ข้อมูล • แปลความหมาย • ตรวจสอบ / ปรับปรุงคุณภาพประเมิน
4. นำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน • ปรับปรุงการปฏิบัติงานของบุคลากร • วางแผนระดับต่อไป • จัดทำข้อมูลสารสนเทศ
5. จัดทำรายงานประเมินตนเอง หรือรายงานประจำปี • รวบรวมผลการดำเนินงาน • วิเคราะห์ตามมาตรฐาน • เขียนรายงาน
กระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา(Quality Assurance) การควบคุมคุณภาพ (QualityControl) การตรวจสอบคุณภาพ (QualityAudit) การประเมินคุณภาพ (QualityAssessment)
ประโยชน์ของการประกันคุณภาพประโยชน์ของการประกันคุณภาพ • ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพ • ผู้ปกครองพึงพอใจในผลพัฒนาการเด็ก • ผู้บริหาร ครู บุคลากรในศูนย์ได้ใช้ความรู้และหลักวิชาอย่างถูกต้องเหมาะสม • ศูนย์ฯ บรรลุความสำเร็จตามเป้าหมาย • ชุมชน ได้สร้างระบบการดูแลเด็กในชุมชนให้มีคุณภาพ • สังคมและประเทศชาติเข้มแข็ง
เอกสารหลักที่สำคัญของการประกันคุณภาพเอกสารหลักที่สำคัญของการประกันคุณภาพ “รายงานการประเมินตนเอง” (Self Assessment Report : SAR)
สาระสำคัญของ SAR • ข้อมูลพื้นฐาน • แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา • ผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา • สรุปผลการพัฒนาและการนำไปใช้ • แนวทางการพัฒนาในอนาคต ด้าน • การบริหาร • การจัดกระบวนการเรียนรู้ • ด้านคุณภาพเด็ก