1 / 24

DEPARTMENT OF SKILL DEVELOPMENT

DEPARTMENT OF SKILL DEVELOPMENT. Responsibility. To conduct skill training and develop skill development system. To promote and create skill development networking both at national and international levels.

kiona
Download Presentation

DEPARTMENT OF SKILL DEVELOPMENT

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. DEPARTMENT OFSKILL DEVELOPMENT

  2. Responsibility • To conduct skill training and develop skill development system. • To promote and create skill development networking both at national and international levels. • To Develop skill standards to meet the international standards and to promote the conducing of skill testing and skill competition

  3. Organization Structure

  4. โครงการขับเคลื่อนระบบรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติโครงการขับเคลื่อนระบบรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ

  5. OFFICE OF SKILL STANDARD AND TESTING DEVELOPMENT (OSSTD)

  6. Structure and Duties of OSSTD OSSTD National Skill Standard Recognition Office

  7. หน้าที่ของสำนักรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติหน้าที่ของสำนักรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ • ดำเนินเกี่ยวกับการพัฒนาระบบรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ • กำหนดแนวทางและรูปแบบการฝึกอบรมบุคลากรด้านการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติและองค์กรที่ทำหน้าที่ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน • พัฒนาและจัดทำเกณฑ์การประเมินเพื่อรับรองหน่วยงาน หรือองค์กรที่ทำหน้าที่ฝึกอบรมหรือทดสอบมาตรฐาน • ศึกษาและจัดทำแนวทางเพื่อวางระบบการดำเนินการของสำนักฯ เพื่อเตรียมการเป็นหน่วยงานอิสระ

  8. สำนักรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติสำนักรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ

  9. 2014 : Drive NSRS THAILAND to AEC ขับเคลื่อนระบบรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติให้เป็นที่ยอมรับใน AEC - 2013 2012 : Introduce to Industrial/Service ขยายผลสู่อุตสาหกรรม/บริการเป้าหมาย 2011 : Try-out, Improvement and Participation ทดลองใช้ ปรับปรุงแก้ไข และสร้างการมีส่วนร่วม 2010 : Collect Data, Manage Information to Innovation ค้นคว้า รวบรวม ศึกษา เรียนรู้ สร้าง Model

  10. แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติแผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ ชื่อโครงการ : โครงการจ้างที่ปรึกษาเพื่อจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติตามอุตสาหกรรม

  11. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อจัดทำแผนผังแสดงตำแหน่งการจ้างงานในอุตสาหกรรม (Industry Functional Map) 2. เพื่อจัดทำแผนผังการจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงาน 2554-2558 (Road Map 2011-2015) 3. เพื่อจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติตามอุตสาหกรรม (National Industrial Skill Standard:NISS) 4. เพื่อจัดทำแนวทางการประเมินความสามารถ (Competency Standard and Assessment)

  12. เป้าหมายเชิงปริมาณ(Quantity)เป้าหมายเชิงปริมาณ(Quantity) มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติตามอุตสาหกรรม ใน 11 กลุ่มอุตสาหกรรม ๆ ละ 4 สาขา จำนวนทั้งสิ้น 44 สาขา เป้าหมายเชิงคุณภาพ (Quality) สมาคม/สภา/องค์กรวิชาชีพ เข้าร่วมจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติมากขึ้น

  13. เวลา (Time) • ระยะเวลาดำเนินโครงการ จำนวน ๗ เดือน ระหว่างกันยายน ๒๕๕๗ – มีนาคม ๒๕๕๘ แบ่งออกเป็น ๒ ระยะ ดังนี้ • ระยะที่ ๑ การจ้างที่ปรึกษา ดำเนินการในเดือนกันยายน ๒๕๕๗ • ระยะที่ ๒ การดำเนินการตามสัญญาจ้างที่ปรึกษา ดำเนินการระหว่างเดือนตุลาคม ๒๕๕๗ – มีนาคม ๒๕๕๘

  14. สถานที่ • สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน • สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

  15. แผนปฏิบัติการ

  16. ทรัพยากร • สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน /สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย/ สภาวิชาชีพ /สมาคมวิชาชีพ /สถานประกอบการ

  17. งบประมาณ • ใช้งบประมาณของสำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๗ เป็นเงิน ๒๓,๙๘๐,๐๐๐ บาท (ยี่สิบสามล้านเก้าแสนแปดหมื่นบาทถ้วน) โดยถัวจ่ายทุกรายการ

  18. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จดัชนีชี้วัดความสำเร็จ - จำนวนมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติที่จัดทำเพิ่มขึ้น (มาตรฐานรายสาขาอาชีพ) • - ร้อยละของความพึงพอใจต่อมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติของกลุ่มเป้าหมาย

  19. การติดตาม/ประเมินผล • รายงานผลการดำเนินงานประจำเดือน • ประเมินผลโครงการตามตัวชี้วัดการดำเนินโครงการ

  20. ผลที่คาดว่าจะได้รับ • Functional Map ใน 11 กลุ่มอุตสาหกรรม • มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติตามอุตสาหกรรมที่ได้จากการจ้าง สอดคล้องกับการจ้างงานและเป็นที่ยอมรับของกลุ่มอุตสาหกรรม นำไปสู่การจ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ • ภาคธุรกิจอุตสาหกรรมของไทย/สถาบันการศึกษา/ฝึกอบรม สามารถ นำมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติตามอุตสาหกรรมไปกำหนดเป็นทิศทางในการพัฒนาศักยภาพฝีมือแรงงาน เพื่อรองรับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

More Related