1 / 82

Joomla !

Joomla !. เครื่องมือสร้างเว็บสำเร็จรูป. การสร้าง เว็บไซต์ในอดีต.

kitty
Download Presentation

Joomla !

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Joomla! เครื่องมือสร้างเว็บสำเร็จรูป

  2. การสร้างเว็บไซต์ในอดีตการสร้างเว็บไซต์ในอดีต • การสร้างเว็บไซต์โดยใช้ Software เป็นงานที่ยากพอสมควร ผู้ที่จะสร้างเว็บไซต์ได้ต้องฝึกเขียนภาษา HTML ซึ่งเป็นภาษาพื้นฐานในการสร้างเว็บไซต์ และยังต้องเรียนภาษาการเขียนเว็บอื่นๆ อีกด้วย รวมถึงยังต้องศึกษาการใช้ตัวโปรแกรม สรุปคือ • เมื่อก่อนเราต้องเรียนรู้ภาษาที่จะเขียน และโปรแกรมที่ใช้เขียน • แต่ปัจจุบัน แค่เรียนรู้วิธีการใช้โปรแกรมก็เพียงพอแล้ว

  3. ทำความรู้จัก CMS • Content Management System หรือ CMS ถ้าแปลตามตัว Content = เนื้อหา,บทความ Management = การจัดการ System = ระบบ เพราะฉะนั้นจะได้ความหายตามตัวคือ ระบบบริหารการจัดการเนื้อหา แต่ที่จริงแล้ว CMS นี้ถูกนำมาใช้เรียกงานทางด้านเว็บไซต์ซะส่วนใหญ่ เ ขาจึงเรียกระบบนี้ว่าเป็นระบบบริการการจัดการเว็บไซต์ โดยที่ระบบนี้ นั้นนควาหมาย จะรวมไปถึงการจัดการข้อมูลต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร รูปภาพ ไฟล์งานต่างๆด้วยแล้วแต่ผู้ใช้งานจะเลือกหรือกำหนดความต้องการของตัวเอง

  4. ประเภทของ CMS • 1. เว็บท่า ผู้คนมักจะสับสนว่า เว็บท่า หรือ พอร์ทัล (portal) คือระบบจัดการเนื้อหาของเว็บ แต่จริงๆแล้ว เว็บท่าเป็น CMS ประเภทที่รวมระบบจัดการเนื้อหาเว็บที่เน้นการทำเว็บทั่วไปเป็นหลัก โดยที่ผู้ใช้ระบบเว็บท่าสามารถปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยได้อย่างง่ายดาย แทนที่จะใช้โปรแกรมออกแบบหน้าตาเว็บอื่น ๆ เช่น ดรีมวีฟเวอร์ โกไลฟ์ หรือไมโครซอฟท์ ฟรอนท์เพจ ที่มีเนื้อหาแบบนิ่ง นอกจากนี้ ยังมีโมดูล หรือคอมโพเนนท์หลากหลายไว้เสริมความสามารถของเว็บท่าอีกด้วย ตัวอย่างของโปรแกรมเว็บท่าที่เป็นที่นิยมในประเทศไทย ได้แก่ Mambo (CMS) Joomla! PhpNukePostnuke

  5. ประเภทของ CMS • 2. บล็อก บล็อก หรือ blog ย่อมาจาก weblog เป็นระบบที่ให้ผู้ใช้สมัครเป็นสมาชิก และได้พื้นที่บล็อกตามที่กำหนด จากนั้นสมาชิกจะสามารถปรับปรุงเนื้อหาในบล็อกของตนได้อย่างง่ายดาย กำลังเป็นที่นิยมของวัยรุ่นในขณะนี้สำหรับเขียนไดอารี่ส่วนตัว เป็นต้น ตัวอย่างของโปรแกรมบล็อก ได้แก่ Wordpress

  6. ประเภทของ CMS • 3. อี-คอมเมิร์ซ เป็นโปรแกรมสำหรับบริหารจัดการ การขายสินค้าบนอินเทอร์เน็ต มีหน้าร้านสำหรับแสดงสินค้า ลูกค้าสามารถเลือกสินค้าที่ต้องการใส่ตะกร้า และจ่ายเงินได้ภายหลังผ่านทางบัตรเครดิตเป็นต้น ตัวอย่างของโปรแกรมอี-คอมเมิซ ได้แก่ PhpShop, osCommerceและ Zen cart (ที่พัฒนาจาก osCommerce)

  7. ประเภทของ CMS • 4. อี-เลิร์นนิง เรียกอีกอย่างว่า LMS หรือ ระบบจัดการเนื้อหาเพื่อการเรียนการสอน สามารถอัปโหลดเนื้อหาของรายวิชาขึ้นระบบได้ ให้ผู้ที่เป็นสมาชิกสามารถเข้ามาดูเนื้อหาได้ ตัวอย่างของโปรแกรมอี-เลิร์นนิง ที่เป็นที่นิยมในประเทศไทย ได้แก่ Moodle ATutor Blackboard WebCT

  8. ประเภทของ CMS • 5. แกลลอรีภาพ เป็นโปรแกรมบริหารจัดการที่เน้นการแสดงภาพเป็นหลัก ผู้ใช้สามารถอัปโหลดภาพขึ้นระบบเพื่อแสดงผลได้ ตัวอย่างของโปรแกรมแกลลอรีภาพ ที่เป็นที่นิยมในประเทศไทย ได้แก่ Coppermine

  9. ประเภทของ CMS • 6. กรุ๊ปแวร์ เป็นโปรแกรมสำหรับการประสานงานร่วมกันผ่านระบบเครือข่าย มีฟังก์ชันการทำงานสนับสนุนการทำงานร่วมกันของทีมงาน เช่นปฏิทินนัดหมาย อีเมล กลุ่มผู้ทำงาน การบริหารโครงการ การแลกเปลี่ยนไฟล์เอกสาร เป็นต้น โดยทั่วไปแล้ว สามารถรองรับการทำงานในสำนักงานทั่วๆไปได้ถึงร้อยละ 80 ตัวอย่างของโปรแกรมกรุปแวร์ ที่เป็นที่นิยมในประเทศไทย ได้แก่ dotProjecteGroupwareMoreGroupwarephpCollabphpProjekt

  10. ประเภทของ CMS • 7. วิกิ เป็นระบบบริหารจัดการเนื้อหาเว็บที่มีแนวความคิดใหม่ โดยเปิดกว้างให้ทั้งผู้ที่เป็นสมาชิกและไม่เป็นสมาชิกสามารถแก้ไขเนื้อหาได้ แทบจะทุกส่วนของเว็บ ตัวอย่างของโปรแกรมวิกิ ที่เป็นที่นิยมในประเทศไทย ได้แก่ มีเดียวิกิ Docuwiki

  11. ประเภทของ CMS • 8 กระดานข่าว กระดานข่าว เป็นสถานที่แปะข้อความกระทู้ ในผู้ที่เป็นสมาชิก หรือบุคคลทั่วไปสามารถแสดงความเห็นในเรื่องต่างๆที่เกี่ยวข้องได้ เป็นที่ได้รับความนิยมอย่างมาก เนื่องจากทำให้เกิดชุมชนของผู้ที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน สามารถมาพูดคุยแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นกันได้ ตัวอย่างของโปรแกรมกระดานข่าว ที่เป็นที่นิยมในประเทศไทย ได้แก่ PhpBBFudForumInvision Power Board vBulletin

  12. ประเภทของ CMS • 9. ไลท์ เป็นโปรแกรมบริหารจัดงานเนื้อหาเว็บที่เปรียบเสมือนโมดูลย่อยๆ โมดูลเดียวของเว็บท่า เน้นที่การบำรุงรักษาง่าย สามารถลงระบบได้โดยไม่ต้องใช้ฐานข้อมูล แต่เก็บข้อมูลเป็นไฟล์อักขระธรรมดา ตัวอย่างของโปรแกรมไลท์ เช่น phpFreeNews Limbo

  13. ประเภทของ CMS • 10. อื่น ๆ ตัวอย่างของโปรแกรมระบบจัดการเนื้อหาเว็บอื่นๆ เช่น ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ ปฏิทินออนไลน์ เป็นต้น ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/CMS

  14. Joomla! คืออะไร • เป็นระบบบริหารจัดการเว็บไซต์ (Content Management System: CMS) • ช่วยให้การพัฒนาเว็บไซต์เป็นเรื่องง่ายและรวดเร็ว  • สามารถติดตั้งใช้งานและอัพเดทข้อมูลได้ทุกที่ทุกเวลา (ที่มีอินเตอร์เน็ต) • เป็นระบบจัดการเนื้อหาเว็บแบบ Open Source และ Free • พัฒนาด้วย PHP และใช้ฐานข้อมูล MySQL

  15. ความสามารถของ Joomla! • เว็บไซต์ส่วนตัว หรือเว็บไซต์ครอบครัว • เว็บท่า (Portal Websites) • เว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce Website) • เว็บไซต์องค์กรทางธุรกิจขนาดเล็ก • เว็บไซต์หน่วยงานหรือองค์การที่ไม่หวังผลกำไร • เว็บไซต์อินทราเน็ตที่ใช้งานเฉพาะภายในองค์กร • เว็บไซต์ชุมชน • เว็บแอปพลิเคชันขนาดเล็กจนไปถึงขนาดใหญ่ต่างๆเช่น ระบบแจ้งข่าวสารประชาสัมพันธ์ ระบบการจัดการเอกสาร การจัดการอัลบั้มรูปออนไลน์ ระบบกระดานสนทนา ระบบสมุดเยี่ยม ฯลฯ

  16. ทำไมเลือกใช้ Joomla! • โหลดฟรี ใช้ฟรี ใช้หาเงินได้ด้วย • ติดตั้งง่าย และสะดวกต่อการใช้งาน ง่ายสุดๆ..จริงๆ • มี Extension เสริมการทำงานที่หลากหลายรูปแบบ • มีระบบบริหารจัดการเนื้อหาบนเว็บไซต์ที่เรียบง่าย • ยืดหยุ่นในการออกแบบตามความต้องการ โดยการใช้รูปแบบ Template • เปลี่ยนภาษาได้ตามต้องการ • ความปลอดภัยสูง • ไม่จำเป็นต้องรู้ภาษา HTML, XML, DHTML, PHP ก็ทำได้ชิวๆ

  17. Joomlaในปัจจุบัน • Joomla 1.0.xxx เป็นเวอร์ชั่นที่ถูกพัฒนาต่อมาจาก Mambo 4.5.x โดยแยกตัวออกมาทำเป็นเวอร์ชั่นของJoomlaโดยรูปแบบการใช้งานยังคล้ายคลึงกับ Mambo 4.5.x อยู่ • Joomla 1.5.xxx เป็นเวอร์ชั่นที่ถูกพัฒนาแตกต่าง ออกไปจาก Joomlaเวอร์ชั่น 1.0.xxx อย่างสิ้งเชิงทั้งเมนู การใช้งานรวมถึงขั้นตอนการติดตั้ง และโครงสร้างการทำงาน จากการทดสอบ ในการโหลดหน้าเว็บไซต์ Joomla1.5.xxx สามารถทำงานได้เร็วขึ้น • Joomla1.6 เป็นเวอร์ชั่นล่าสุด โดยทั่วไปของระบบจะเปลี่ยนแปลงไปบ้างบางส่วน และยังเป็นรุ่น Beta ยังไม่มีข้อมูลที่แน่นอน รอดูต่อไปละกันครับ

  18. ความต้องการระบบสำหรับJoomla!ความต้องการระบบสำหรับJoomla! • ระบบปฏิบัติการ Linux Mac OS Windows

  19. Web Server และระบบฐานข้อมูล PHP Server-side Scripting language Apache web server MySQL Database Server Apache/2.2.4 (Win32) หรือสูงกว่า ดาวน์โหลดได้ที่ http://www.apache.org PHP 4.3 หรือสูงกว่า ดาวน์โหลดได้ที่ http://www.php.net Mysql Database 3.23 หรือสูงกว่า ดาวน์โหลดได้ที่ http://www.mysql.com

  20. การเตรียมตัวติดตั้งบน Windows • ระบบปฏิบัติการ Windows • Appserv (จะติดตั้งphp, MySQL ให้อัตโนมัติ) • ตัว Install ของ Joomla

  21. ขั้นตอนการติดตั้ง • ติดตั้ง web server หรือ Appservก่อนเลย • ติดตั้ง Joomla • ตั้งค่าคอนฟิคพื้นฐานของเว็บ

  22. การติดตั้ง Appserv • ดับเบิ้ลคลิกไฟล์ appserv-win32-2.5.10.exe เพื่อทำการติดตั้ง

  23. การติดตั้ง Appserv (ต่อ) • เข้าสู่ขั้นตอนเงื่อนไขการใช้งานโปรแกรม โดยโปรแกรม AppServได้แจกจ่ายในรูปแบบ GNU License หากผู้ติดตั้ง อ่านเงื่อนไขต่างๆ เสร็จสิ้นแล้ว และยอมรับเงื่อนไขให้กด Next เพื่อเข้าสู่การติดตั้งในขั้นต่อไป

  24. การติดตั้ง Appserv (ต่อ) • เข้าสู่ขั้นตอนการเลือกปลายทางที่ต้องการติดตั้ง โดยค่าเริ่มต้นปลายทางที่ติดตั้งจะเป็น C:\AppServ หากต้องการเปลี่ยนปลายทางที่ติดตั้ง ให้กด Browse แล้วเลือกปลายทางที่ต้องการ กดปุ่ม Next เพื่อเข้าสู่ขั้นตอนการติดตั้งขั้นต่อไป

  25. การติดตั้ง Appserv (ต่อ) • เลือก Package Components ที่ต้องการติดตั้ง โดยค่าเริ่มต้นนั้นจะให้เลือกลงทุก Package กดปุ่ม Next เพื่อเข้าสู่ขั้นตอนการติดตั้งขั้นต่อไป

  26. การติดตั้ง Appserv (ต่อ) • กำหนดค่าคอนฟิกของ Apache Web Server มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 3 ส่วน localhost 80 Your e-mail

  27. การติดตั้ง Appserv (ต่อ) • กำหนดค่าคอนฟิกของ MySQL Database 12345 12345 Utf-8 unicode

  28. การติดตั้ง Appserv (ต่อ) • สิ้นสุดขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม AppServสำหรับขั้นตอนสุดท้ายนี้จะมีให้เลือกว่าต้องการสั่งให้มีการรัน Apache และ MySQL ทันทีหรือไม่ จากนั้นกดปุ่ม Finish เพื่อเสร็จสิ้นการติดตั้งโปรแกรม AppServ

  29. การทดสอบ Web Server ...ติดตั้งผ่านหรือไม่ • เปิดโปรแกรมท่องอินเตอร์เน็ต • พิมพ์ URL ที่ช่อง Addreesตามนี้ • http://localhost/หรือ • http://127.0.0.1กด Enter

  30. ถ้าผ่านแล้ว..จะต้องขึ้นแบบนี้ถ้าผ่านแล้ว..จะต้องขึ้นแบบนี้

  31. ขั้นตอนการติดตั้ง Joomla! • Download จากเว็บ www.joomla.orgมาไว้ที่เครื่องเราก่อน จะได้ไฟล์ชื่อ ดังนี้ • Joomla_1.5.18-Stable-Full_Package.zip • ทำการ copy ไปไว้ที่ C:\Appserv\www\ • ทำการแตกไฟล์ • เปลี่ยนชื่อโฟเดอร์เป็น Joomla • เริ่มการติดตั้ง

  32. การ Download Joomla • ก่อนทำการติดตั้งนั้นต้องทำการดาวน์โหลดสตริปสำหรับติดตั้งก่อนครับ โดยสามารถดาวน์โหลดได้ที่http://www.joomla.org เลือกเวอร์ชันล่าสุด ตามรูป

  33. โหลดไฟล์ Full Package • คลิกที่ ZIP

  34. เลือก Save File ไว้ในเครื่อง • เก็บไว้ที่ไหนก็ได้ ที่เราจำได้ หรือเตรียมไว้แล้ว

  35. รอจนดาวน์โหลดเสร็จสิ้นรอจนดาวน์โหลดเสร็จสิ้น

  36. เมื่อโหลดเสร็จแล้ว...ทำไงต่อเมื่อโหลดเสร็จแล้ว...ทำไงต่อ • Copy ไฟล์ Zip ไปไว้ที่ C:\Appserv\www\

  37. ทำการแตกไฟล์ ด้วยโปรแกรมบีบอัดต่างๆ • Winzip • Winrar • 7zip คลิกขวาที่ไฟล์ Zip เลือกเป็น Extract File

  38. เปลี่ยนชื่อ โฟเดอร์ ให้จำง่ายขึ้น • เปลี่ยนจาก Joomla_1.5.18-Stable-Full_Package • เป็น Joomla

  39. เริ่มการติดตั้ง Joomla! • เปิดโปรแกรมท่องอินเตอร์เน็ต • พิมพ์ที่ Address เป็น http://localhost/joomla/ ได้ดังนี้ เลือกภาษา

  40. คลิก Next (ถัดไป)

  41. คลิก Next (ถัดไป)

  42. กรอกข้อมูลให้ครบทุกช่องกรอกข้อมูลให้ครบทุกช่อง MySQL localhost root 12345 (แล้วแต่จะตั้ง) Joomladb (ชื่อสอดคล้องกับชื่อเว็บ)

  43. กำหนด ไม่สนับสนุน FTP

  44. กรอกข้อมูลตามที่แนะนำ ให้ครบ ชื่อเว็บ ภาษาไทยได้เลย Email ผู้ดูแลเว็บ รัหัสและยืนยันรหัส ไม่ต้องติดตั้งข้อมูลตัวอย่าง

  45. อ่านข้อความสีแดงให้เข้าใจก่อนอ่านข้อความสีแดงให้เข้าใจก่อน

  46. ลบหรือเปลี่ยนชื่อโฟเดอร์ Installation • ที่อยู่ของโฟเดอร์ • C:\appserv\www\joomla\ ลบ หรือ เปลี่ยนชื่อ installation

  47. คลิกที่ ดูหน้าเว็บไซต์ จะได้ดังนี้ (หน้าเว็บเปล่าๆ)

  48. หลักการใช้ section(S) และ category (C) • ข้อมูลที่ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงบ่อย อาจจะไม่ต้องสร้าง S/C • เช่น คติพจน์, วิสัยทัศน์, เกี่ยวกับเรา, พันธกิจ เป็นต้น • ข้อมูลที่มีการเคลื่อนไหวบ่อยครั้ง ควรสร้าง S/C • เช่น ข่าวประชาสัมพันธ์, ข่าวประกาศ เป็นต้น • ต้องสร้าง S ก่อน ตามด้วย C (บทความสร้างเมื่อไรก็ได้) • S/C จะต้องไปคู่กันตลอด (สร้างอันใดอันหนึ่ง ก็จะใช้งานไม่ได้)

  49. Plugin คือ ฟังก์ชั่น ที่ใช้งานร่วมกับส่วนต่างๆ ในJoomla

More Related