180 likes | 338 Views
Groundwater Resources of Chiangmai Basin. By Jaratmanee Sitthi 4405138 Siripan Panyadaung 4405531. ศักยภาพน้ำบาดาลในแอ่งเชียงใหม่. สภาพอุทกธรณีวิทยา สภาพแหล่งน้ำบาดาล การจำแนกชั้นน้ำบาดาล ศักยภาพน้ำบาดาล
E N D
Groundwater Resources of Chiangmai Basin By Jaratmanee Sitthi 4405138 Siripan Panyadaung 4405531
ศักยภาพน้ำบาดาลในแอ่งเชียงใหม่ศักยภาพน้ำบาดาลในแอ่งเชียงใหม่ • สภาพอุทกธรณีวิทยา • สภาพแหล่งน้ำบาดาล • การจำแนกชั้นน้ำบาดาล • ศักยภาพน้ำบาดาล • โครงการในปี 2547 - 2548
Introduction Flood Plain Deposits Alluvial Fan Deposits Old Terrace Deposits Younger Terrace Deposits Colluvial Deposits Consolidated Rocks
ลักษณะอุทกธรณีวิทยาบริเวณแอ่งเชียงใหม่ลักษณะอุทกธรณีวิทยาบริเวณแอ่งเชียงใหม่ แผนที่น้ำบาดาลแอ่งเชียงใหม่
ดอยสะเก็ด สันกำแพง หางดง เมืองเชียงใหม่ 500 อ่างเก็บน้ำห้วยฮ่องไคร้ แม่น้ำปิง 400 Qcp 300 200 Qcm PCms Vc 100 Qcr การจำแนกชั้นน้ำบาดาล ชั้นน้ำที่ ระดับความลึก (ม) ชั้นน้ำที่ ระดับความลึก (ม) 1 108 - 120 20 - 35 4 2 160 - 180 45 - 70 5 3 มากกว่า 180 80 - 95 6
ศักยภาพน้ำบาดาลในแอ่งเชียงใหม่ศักยภาพน้ำบาดาลในแอ่งเชียงใหม่ • น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค • น้ำเพื่อการเกตรกรรม • น้ำเพื่อการอุตสาหกรรม • โครงการในปี 2547 – 2548 • การจัดหาน้ำในพระตำหนักภูพิงค์ • การจัดหาน้ำในพื้นที่อ่างขาง • การเจาะบ่อน้ำบาดาลระดับลึก
น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค • จำนวนประชากรทั้งหมด 8,006,726 คน ปริมาณน้ำที่ใช้ 73.57 MCM./Y • จำนวนนักท่องเที่ยว 7,121,772 คน ปริมาณน้ำที่ใช้ 25.12 MCM./Y • ข้อมูลตามผลการเก็บค่าใช้น้ำบาดาล ปริมาณน้ำที่ใช้ 12.934 MCM./Y
น้ำเพื่อการเกตรกรรม • ชลประทานแม่แตง 148,000ไร่ ปริมาณน้ำที่ผัน 118 MCM./Y • ชลประทานแม่กวง 175,000 ไร่ ปริมาณน้ำที่ผัน 202 MCM./Y • ปริมาณการใช้น้ำบาดาล 2.459 MCM./Y
น้ำเพื่อการอุตสาหกรรมน้ำเพื่อการอุตสาหกรรม ปริมาณน้ำที่ใช้ 12.934 MCM./Y (ข้อมูลตามผลการเก็บค่าใช้น้ำบาดาล)
โครงการในปี 2547 – 2548 • การจัดหาน้ำในพระตำหนักภูพิงค์ • การจัดหาน้ำในพื้นที่อ่างขาง • การเจาะบ่อน้ำบาดาลระดับลึก
การจัดหาน้ำในพระตำหนักภูพิงค์การจัดหาน้ำในพระตำหนักภูพิงค์
การจัดหาน้ำในพื้นที่อ่างขางการจัดหาน้ำในพื้นที่อ่างขาง
การเจาะบ่อน้ำบาดาลระดับลึกการเจาะบ่อน้ำบาดาลระดับลึก
คำถาม • 1. พื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดเชียงใหม่เป็นพื้นที่ภูเขารองรับด้วย หน่วยหินให้น้ำชนิดใด ประมาณร้อยละเท่าใดของพื้นที่ • 2. หน่วยหินให้น้ำที่เป็นหินร่วนที่เป็นแหล่งน้ำบาดาลที่สำคัญในแอ่งเชียงใหม่คือหน่วยหินประเภท ใด • 3. ชั้นน้ำหินปูนยุคเพอร์เมียน-คาร์บอนิเฟอร์รัสและชั้นน้ำหินปูนยุคออร์โดวิเชียน มีความแตกต่าง กันอย่างไร • 4. เหตุใดชั้นน้ำตะกอนตะพักน้ำยุคเก่าจึงมีปริมาณน้ำสะสมน้อยกว่าชั้นน้ำตะกอนน้ำพาและชั้นน้ำตะกอนตะพักน้ำยุคใหม่ • 5. แหล่งน้ำบาดาลในหินแข็ง ถูกกักเก็บไว้ในลักษณะใด
6. จงอธิบายชั้นน้ำหินภูเขาไฟของจังหวัดเชียงใหม่มาโดยสังเขป • 7. คุณภาพน้ำบาดาลของจังหวัดเชียงใหม่ ส่วนใหญ่เป็นอย่างไร • 8. ในหลายพื้นที่ของจังหวัดเชียงใหม่ พบปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพน้ำอย่างไรบ้าง • 9. การเจาะน้ำบาดาลโดยทั่วไปของพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ส่วนใหญ่มีความลึกเท่าใด • 10. ปริมาณฟลูออไรด์ในน้ำบาลที่พบในแอ่งเชียงใหม่ที่มีปริมาณสูง มักเกิดจากสาเหตุใด ยกตัวอย่างสถานที่พบด้วย
References • กองน้ำบาดาล กรมทรัพยากรธรณี, 2547, คู่มือการใช้แผนที่น้ำบาดาลจังหวัดเชียงใหม่, จีเอ็มที คอร์ปอเรชั่น, 73 หน้า • ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2545, ธรณีวิทยาท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่, 163 หน้า