1 / 33

Antibiotics smart use

ห้องประชุมเรือนแก้ว. 29/1/52. Antibiotics smart use. แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ. 3. 2. 1. Antibiotics smart use. แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ. หยุดเรียก “ ยาปฏิชีวนะ ” ว่า “ ยาแก้อักเสบ ”. การอักเสบ. การอักเสบแบบติดเชื้อ. การอักเสบแบบไม่ติดเชื้อ เช่น กล้ามเนื้ออักเสบ ภูมิแพ้ โรค SLE

latimer
Download Presentation

Antibiotics smart use

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ห้องประชุมเรือนแก้ว 29/1/52 Antibiotics smart use แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ

  2. 3

  3. 2

  4. 1

  5. Antibiotics smart use แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ

  6. หยุดเรียก“ยาปฏิชีวนะ”ว่า “ยาแก้อักเสบ” การอักเสบ การอักเสบแบบติดเชื้อ • การอักเสบแบบไม่ติดเชื้อ • เช่น กล้ามเนื้ออักเสบ ภูมิแพ้ โรค SLE • ยาสเตียรอยด์ (Steriods) • ยาแก้อักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (NSAIDs) ติดเชื้อไวรัส ติดเชื้อแบคทีเรีย ยาปฏิชีวนะ ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะ

  7. ยาปฏิชีวนะเป็น “ยาอันตราย” • ยาอันตราย คำเตือน 1.ห้ามใช้ในผู้ป่วยแพ้ยานี้ 2.ยานี้อาจทำให้เกิดอาการแพ้และเป็นอันตรายถึงตายได้ 3.หากเกิดอาการผื่นแดง ระคายเคืองหรือบวมให้หยุดยาและปรึกษาแพทย์

  8. ยาปฏิชีวนะเป็น “ยาอันตราย” อันตรายจากผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้ยาปฏิชีวนะพร่ำเพรื่อ • แพ้ยา • อาการข้างเคียงจากการใช้ยา • เชื้อดื้อยา

  9. Antibiotics smart use • โรคติดเชื้อเฉียบพลันทางเดินหายใจส่วนบน • โรคท้องร่วงเฉียบพลัน • บาดแผล

  10. โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน • สาเหตุการติดเชื้อ • 80% จากไวรัส • 20% จากแบคทีเรีย • กรณีที่ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ • อาการดังนี้ ไม่มีไข้ ไม่เจ็บคอ มีน้ำมูกมาก จามบ่อย เสียงแหบ ตาแดง มีผื่นตามตัว แผลในปาก ถ่ายเหลวไอโดยตรวจไม่พบอาการโรคปอดอักเสบ • ไข้สูง > 38๐c ร่วมกับอาการข้างต้น หมายถึง ติดเชื้อไวรัส ไม่จำเป็นต้องให้ยาฆ่าเชื้อ ส่วนใหญ่จึงไม่ต้องใช้ยาฆ่าเชื้อ

  11. ขนาดและวิธีให้ยาฆ่าเชื้อขนาดและวิธีให้ยาฆ่าเชื้อ

  12. โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน ซักประวัติ กรณีที่ควรให้ยาปฏิชีวนะ (ในเด็ก < 15 ปี ควรให้ประมาณ 5 – 10 วัน) • กรณีที่ไม่ให้ยาปฏิชีวนะ • หวัด-เจ็บคอ (Common Cold) • มีน้ำมูก คัดจมูก • คอแดงเล็กน้อย • ไอ • เยื่อบุจมูกบวมแดง • อื่นๆ .............................. ต่อมทอนซิลอักเสบ Group A beta hemolytic streptococcus (GABSH) Temp. >38.3oC ต่อมทอนซิลบวม มีหนอง ไม่ไอ ต่อมน้ำเหลือง โต กดเจ็บ อื่นๆ ................................. หูชั้นกลางอักเสบ (Otitis Media) exudative D/C inject TM ปวดหู มีไข้สูง หนาวสั่น อื่นๆ ................................. แพทย์ผู้สั่งยา นพ.ธีรยุทธ  พญ.กัลมลี พญ.นวพร  พญ.กิ่งกาญจน์  อื่นๆ.............................................................

  13. โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน • กรณีที่ควรใช้ยาปฏิชีวนะ: คอหอยและทอนซิลอักเสบ • ไข้สูง เจ็บคอมาก มีจุดขาวที่ทอนซิล ต่อมน้ำเหลืองใต้คอโต ลิ้นไก่บวมแดง มีจุดเลือดออกที่เพดานปาก • ยาที่ควรใช้: penicillin V, amoxicillin, roxithromycin10 วัน

  14. โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน • กรณีที่อาจให้ยาปฏิชีวนะ: หูชั้นกลางอักเสบ ไซนัสอักเสบ • มีไข้ ปวดหู โดยเฉพาะหลังจากเป็นหวัด หมายถึงติดเชื้อในหูชั้นกลาง • การติดเชื้อในหูชั้นกลางมักดีขึ้นใน 72 ชั่วโมง เพราะฉะนั้น ใน3วันแรกจึงไม่จำเป็นต้องให้ยา แต่หากพ้น3วันแล้วอาการไม่ดีขึ้นจึงทานยาฆ่าเชื้อ

  15. ขนาดและวิธีให้ยาฆ่าเชื้อขนาดและวิธีให้ยาฆ่าเชื้อ • Penicillin V • ผู้ใหญ่ 500 มก. วันละ 2-3 ครั้ง • เด็ก 25-50 มก./กก./วัน วันละ 2-3 ครั้ง • Amoxicillin • ผู้ใหญ่ 500 มก. วันละ 3 ครั้ง • เด็ก 25-50 มก./กก./วัน วันละ 3 ครั้ง หากเป็นไซนัสอักเสบให้ 80-90 มก./กก./วัน วันละ 2-3 ครั้ง

  16. ขนาดและวิธีให้ยาฆ่าเชื้อขนาดและวิธีให้ยาฆ่าเชื้อ • Erythromycin • เด็ก 5-8 มก./กก./วัน วันละ 2 ครั้ง

  17. QUIZ

  18. ข้อควรรู้ • การมีน้ำมูกหรือเสมหะข้น หรือสีเขียวเหลืองไม่ได้บ่งชี้ว่าต้องทานยาฆ่าเชื้อ • อาการไข้สูงเพียงอย่างเดียวไม่ใช่ข้อบ่งชี้ว่าต้องทานยาฆ่าเชื้อ เพราะอาจเป็นโรคอื่นได้ เช่น ไข้หวัดใหญ่ ไข้เลือดออก

  19. โรคท้องร่วงเฉียบพลัน • โรคท้องร่วง หมายถึง การถ่ายอุจจาระเหลวจำนวนอย่างน้อย 3 ครั้งหรือถ่ายมีมูกปนเลือดหรือเป็นน้ำ อย่างน้อย 1 ครั้ง • ผู้ป่วยที่มีอาเจียนเป็นอาการเด่นมักหมายถึงอาหารเป็นพิษ ไม่ใช่ติดเชื้อจึงไม่ต้องใช้ยาฆ่าเชื้อ

  20. โรคท้องร่วงเฉียบพลัน ซักประวัติ กรณีที่ไม่ให้ยาปฏิชีวนะ กรณีที่ควรให้ยาปฏิชีวนะ • ท้องร่วงชนิด Invasive • Temp. > 38.3 oC • ถ่ายเป็นมูก/เลือด สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า • ผลตรวจ lab พบ RBC/WBC ในอุจจาระ • อายุมากกว่า 65 ปี • Dehydration ตั้งแต่ moderate ขึ้นไป • Immunocompromise เช่น DM poor control • อื่นๆ ................................. • อาหารเป็นพิษ • ถ่ายเหลวเป็นน้ำ • มีอาการอาเจียนเด่น • อื่นๆ .............................. • ท้องร่วงชนิด Non-Invasive • ไม่มีไข้ •  ไม่มีถ่ายมูก/เลือด •  อื่นๆ ..............................

  21. โรคท้องร่วงเฉียบพลัน • การให้ยาฆ่าเชื้อควรให้เฉพาะผู้ป่วยที่มีอาการร่วมดังนี้ • ไข้สูง > 38๐c • อุจจาระเป็นมูกหรือมีเลือดปนเห็นได้ด้วยตาเปล่า หรือ ตรวจพบWBC RBCในอุจจาระ • ยาฆ่าเชื้อที่ควรใช้คือ norfloxacin • ผู้ใหญ่ 400 มก. วันละ 2 ครั้ง นาน 5 วัน • เด็กอาจให้ co-trimoxazole

  22. ข้อควรรู้ • เป้าหมายสำคัญที่สุดในการรักษาไม่ใช่ยาฆ่าเชื้อ แต่เป็นการให้สารน้ำและเกลือแร่ทดแทนที่สูญเสียไปกับอุจจาระ • ยาบางตัวไม่แนะนำให้ใช้ในกรณีท้องร่วง ได้แก่ buscopan, imodium, lomotil เป็นต้น • การให้ activated charcoal หรือ ultracarbon สามารถให้ได้ ไม่เป็นพิษ ราคาถูกและช่วยลดความกังวลใจแก่ผู้ป่วย โดยทาน 1-2 เม็ด วันละ 2-4 ครั้ง

  23. บาดแผล • แผลที่ยังไม่ติดเชื้อ คือ บาดแผลที่มาถึงรพ.ภายใน6ชั่วโมง • แผลสะอาด หมายถึง • บาดแผลเปิดที่มีขอบเรียบสามารถล้างทำความสะอาดง่าย • ไม่มีเนื้อตาย • บาดแผลที่มีสิ่งสกปรกติดอยู่ แต่ล้างออกได้ง่าย • แผลที่ไม่ได้เปื้อนสิ่งแปลกปลอมที่ติดเชื้อสูง เช่น น้ำคลอง ดิน มูลสัตว์ เป็นต้น

  24. บาดแผล • บาดแผลที่มีโอกาสติดเชื้อสูง • บาดแผลที่ถูกวัตถุทิ่มเป็นรูยากแก่การทำความสะอาดได้ทั่วถึง • บาดแผลที่มีเนื้อตายเป็นบริเวณกว้าง • บาดแผลที่มีสิ่งสกปรกติดอยู่ ที่ล้างได้ไม่หมด • บาดแผลที่สัมผัสเชื้อโรคมาก เช่น ดิน น้ำคลอง เหล็กมีสนิม มูลสัตว์ เป็นต้น • บาดแผลจากการบดอัด • แผลที่เท้า • แผลขอบไม่เรียบ • แผลผู้ป่วยที่ภูมิคุ้มกันต่ำ หรือโอกาสติดเชื้อง่าย เช่น เบาหวาน เป็นต้น

  25. บาดแผล ยาฆ่าเชื้อให้ในกรณีที่แผลมีโอกาสติดเชื้อสูงเท่านั้น และเป็นการให้เพื่อการป้องกันการติดเชื้อ ยาที่ควรใช้ • Dicloxacillin • ผู้ใหญ่ 250 มก. วันละ 4 ครั้ง 2 วัน • เด็ก 25-50 มก. วันละ 4 ครั้ง 2 วัน • Clindamycin • ผู้ใหญ่ 150-300 มก. วันละ 4 ครั้ง 2 วัน • เด็ก 8-25 มก./กก./วัน วันละ 4 ครั้ง 2 วัน

  26. บาดแผล ซักประวัติ กรณีที่ไม่ให้ยาปฏิชีวนะ กรณีที่ควรให้ยาปฏิชีวนะ แผลสะอาด มาโรงพยาบาลภายใน 6 ชั่วโมงหลังเกิดแผล แผลขอบเรียบ ทำความสะอาดง่าย ไม่มีเนื้อตาย ไม่มีสิ่งสกปรกในแผล/มี แต่ล้างออกง่าย แผลไม่ปนเปื้อนสิ่งที่มีแบคทีเรียมาก เช่น มูลสัตว์ น้ำโคลนสกปรก อื่นๆ ......................................................... แผลสะอาดที่มีลักษณะ แผลที่เท้า แผลจากการบดอัด แผลขอบไม่เรียบ less compliance อื่นๆ ............................................................................................................................................... แผลปนเปื้อน วัตถุทิ่มเป็นรู ทำความสะอาดยาก เนื้อตายเป็นบริเวณกว้าง มีสิ่งสกปรกในแผล less compliance poor sanitation อื่นๆ ........................ แพทย์ผู้สั่งยา นพ.ธีรยุทธ  พญ.กัลมลี พญ.นวพร  พญ.กิ่งกาญจน์  อื่นๆ.............................................................

  27. ข้อควรรู้ • ในการชะล้างแผลที่สกปรกเป็นร่องลึกควรใช้ syringe 10-40 cc. ฉีดล้างบริเวณแผลให้ทั่วถึง แค่ scrub อย่างเดียวไม่ได้ • ไม่จำเป็นต้องใส่น้ำยาฆ่าเชื้อใดๆลงในบาดแผล เพราะไม่ลดโอกาสติดเชื้อและ อาจทำลายเนื้อเยื่อในแผลให้แผลหายช้าลง • ทุกครั้งที่ผู้ป่วยมาทำแผลต้องสังเกตแผลเสมอว่ามีการอักเสบหรือไม่

  28. บุคลากรทางการแพทย์ คนไข้ และประชาชนทั่วไป

  29. ข้อควรรู้ • การตัดไหม • กรณีแผลที่หน้า ตัดไหม 5 วัน • แผลที่ข้อพับ ตัดไหม 10-14 วัน • แผลอื่นๆ ตัดไหม 7 วัน

  30. The end

More Related