840 likes | 3.15k Views
ความหมาย. รถยนต์ที่ทางราชการจัดให้แก่ข้าราชการผู้ดำรงตำแหน่งตามที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้. ว่าด้วยรถราชการ ฉบับที่ 6 พ.ศ.2545. รถประจำตำแหน่ง. รถยนต์หรือรถจักรยานยนต์ที่จัดไว้เพื่อกิจการอันเป็นส่วนรวมของส่วนราชการ. รถส่วนกลาง. รถยนต์ที่จัดไว้เป็นพาหนะรับรองชาวต่างประเทศ ซึ่งเป็นแขกของทางราชการ.
E N D
ความหมาย รถยนต์ที่ทางราชการจัดให้แก่ข้าราชการผู้ดำรงตำแหน่งตามที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้ ว่าด้วยรถราชการ ฉบับที่ 6 พ.ศ.2545 รถประจำตำแหน่ง รถยนต์หรือรถจักรยานยนต์ที่จัดไว้เพื่อกิจการอันเป็นส่วนรวมของส่วนราชการ รถส่วนกลาง รถยนต์ที่จัดไว้เป็นพาหนะรับรองชาวต่างประเทศ ซึ่งเป็นแขกของทางราชการ รถรับรอง รถยนต์หรือรถจักรยานที่ส่วนราชการมีหน้าที่รับผิดชอบในการถวายอารักขา รถอารักขา
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย รถราชการ พ.ศ.2523 และที่แก้ไขเพิ่มเติม • รถราชการ หมายถึง รถประจำตำแหน่ง ,รถยนต์และรถจักรยานยนต์ส่วนกลาง, รถรับรอง • การขอใช้ ต้องมีใบขออนุญาตใช้รถ และได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจ • รถราชการ ต้องมีสมุดบันทึกการใช้รถแต่ละคัน พนักงานขับรถให้บันทึกการใช้รถตามความเป็นจริง • การเก็บรักษาและการซ่อมบำรุง จะต้องเก็บรักษาไว้ในที่ปลอดภัยและมีรายละเอียดประวัติการซ่อม • คู่มือการจดทะเบียน ต้องมีการต่อทะเบียนทุกคัน ทุกปี • การทำประกันภัยรถราชการ ต้องมีการประกันภัยภาคบังคับตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 (พรบ) กรณีการประกันภัยภาคสมัครใจหน่วยงานพิจารณาตามความจำเป็นและเหมาะสม
ข้าราชการที่ราชการจัดรถประจำตำแหน่งให้ข้าราชการที่ราชการจัดรถประจำตำแหน่งให้ • ผู้ที่ดำรงตำแหน่งบังคับบัญชาตั้งแต่ระดับผู้ช่วยหัวหน้าส่วนราชการ • รองหัวหน้าส่วนราชการ • หัวหน้าส่วนราชการขึ้นไป • ผู้ดำรงตำแหน่งผู้ตรวจราชการระดับกระทรวง • เอกอัครราชทูตประจำกระทรวง • และข้าราชการประจำในต่างประเทศ • หัวหน้าส่วนราชการควรพิจารณาจัดสรรรถประจำตำแหน่งสำหรับตำแหน่งที่ปรึกษาหรือผู้ทรงคุณวุฒิระดับ 11 และระดับ 10 ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการได้รับผิดชอบงานด้านบริหารที่มีอำนาจบังคับบัญชาได้
ตราเครื่องหมายประจำรถตราเครื่องหมายประจำรถ ตัวอักษรชื่อเต็มสูงไม่น้อยกว่า 5 ซม. ขนาดกว้างและยาวไม่น้อยกว่า 18 ซม. ชื่อย่อสูงไม่น้อยกว่า 7.5 ซม. รถจักรยานยนต์ ขนาดของตราเครื่องหมายและอักษรให้ลดลงตามส่วน รถที่ใช้ในต่างประเทศให้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องถือปฏิบัติก็ได้ ขอยกเว้นการมีเครื่องหมายและอักษรชื่อสังกัด ให้รายงานผู้รักษาการตามระเบียบ และสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินทราบ
การควบคุมการใช้ยานพาหนะและการรายงานการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงการควบคุมการใช้ยานพาหนะและการรายงานการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย รถราชการ พ.ศ.2523 และที่แก้ไขเพิ่มเติม หลักเกณฑ์และขั้นตอนการใช้บัตรเติมน้ำมันรถราชการ (กค0405.2/ว 89 ลงวันที่ 18 ธันวาคม 2550) การรายงานการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงของมหาวิทยาลัยขอนแก่น (E-Utility) ต่อมหาวิทยาลัยขอนแก่น การรายงานการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อสำนักงานตรวจสอบภายใน เพื่อวิเคราะห์อัตราการสิ้นเปลื้องน้ำมันเชื้อเพลิงประจำปี
แบบบันทึกประเภทรถ ประเภทรถส่วนกลาง/รถรับรอง/รถรับรองประจำจังหวัด/รถอารักขา ทะเบียนรถของ.......................................................(กรม)..........................................................
(6) สภาพการใช้รถปีที่1 จำนวนระยะทางที่ใช้...........กม. การใช้น้ำมันเชื้อเพลิง............ลิตร ค่าซ่อมบำรุง...............บาท ปีที่2 จำนวนระยะทางที่ใช้...........กม. การใช้น้ำมันเชื้อเพลิง............ลิตร ค่าซ่อมบำรุง...............บาท ปีที่3 จำนวนระยะทางที่ใช้...........กม. การใช้น้ำมันเชื้อเพลิง............ลิตร ค่าซ่อมบำรุง...............บาท ปีที่4 จำนวนระยะทางที่ใช้...........กม. การใช้น้ำมันเชื้อเพลิง............ลิตร ค่าซ่อมบำรุง...............บาท ปีที่5 จำนวนระยะทางที่ใช้...........กม. การใช้น้ำมันเชื้อเพลิง............ลิตร ค่าซ่อมบำรุง...............บาท แบบบันทึกประวัติยานพาหนะ ที่มาของข้อมูล = สมุดคู่มือจดทะเบียนรถ
รายการตรวจสอบสภาพรถก่อนใช้งานรายการตรวจสอบสภาพรถก่อนใช้งาน
การควบคุมบัตรเติมน้ำมันรถราชการการควบคุมบัตรเติมน้ำมันรถราชการ หน่วยงานที่ควบคุมการใช้รถราชการ มีหน้าที่ จัดทำทะเบียนควบคุมบัตรเติมน้ำมันรถราชการ จัดทำทะเบียนควบคุมค่าน้ำมัน เพื่อใช้ในการติดตามควบคุมและตรวจสอบการใช้บัตรเติมน้ำมัน เรียกคืนบัตรเติมน้ำมันรถราชการ จากผู้ถือบัตรทุกครั้งที่เสร็จสิ้นการใช้ เก็บรักษาบัตร และรหัสประจำบัตร (PIN Number) ในที่ปลอดภัย แจ้งระงับการใช้บัตร กรณีบัตรสูญหายและรายงานหัวหน้าหน่วยราชการหรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจ เพื่อมีหนังสือแจ้งสถาบันผู้ออกบัตรเติมน้ำมันรถราชการระงับการใช้บัตรอย่างเป็นทางการ
การควบคุมบัตรเติมน้ำมันรถราชการการควบคุมบัตรเติมน้ำมันรถราชการ หน่วยงานที่ควบคุมการใช้รถราชการ มีหน้าที่ รวบรวมใบบันทึกรายการขาย หรือเอกสารการเติมน้ำมัน ใบเสร็จรับเงิน และใบกำกับภาษีในกรณีไม่สามารถใช้บัตรได้ และเอกสารต่างๆที่เกี่ยวของ ตรวจสอบความถูกต้องของรายการและค่าใช้จ่ายในการเติมน้ำมันแต่ละครั้ง ตรวจสอบรายการตามใบแจ้งยอดการใช้จ่ายบัตรเติมน้ำมันรถราชการ (Statement of Fleet Card Account) ที่ได้รับจากผู้ออกบัตรเติมน้ำมัน รวบรวมส่งเอกสารให้ฝ่ายการเงิน เพื่อสรุปยอดเบิกจ่ายเงิน และส่งเบิกจ่ายที่กองคลังตามวันและเวลาที่กำหนด
การควบคุมบัตรเติมน้ำมันรถราชการการควบคุมบัตรเติมน้ำมันรถราชการ ข้อสังเกตของผู้ควบคุมบัตรเติมน้ำมันรถราชการ • วงเงินที่กำหนดให้แต่ละบัตร ควรพิจารณาจากสถิติการใช้แต่ละเดือนเปรียบเทียบกับวงเงินที่ขออนุมัติว่าเหมาะสมหรือไม่
การควบคุมบัตรเติมน้ำมันรถราชการการควบคุมบัตรเติมน้ำมันรถราชการ ผู้ถือบัตรเติมน้ำมันรถราชการ มีหน้าที่ เบิกบัตรเติมน้ำมันรถราชการพร้อมรหัสประจำบัตร (PIN Number) และลงลายมือชื่อในทะเบียนควบคุมบัตร นำไปเติมน้ำมันรถราชการตามหมายเลขทะเบียนรถ ตรวจสอบประเภทน้ำมันที่เติม และวงเงินในบัตรก่อนเติมน้ำมันทุกครั้ง นำใบบันทึกรายการขาย (Sales Slip) ที่ลงลายมือชื่อ ใบกำกับภาษีพร้อมบัตรเติมน้ำมันส่งคืนหน่วยงานควบคุมการใช้รถราชการโดยเร็วหลังเสร็จสิ้นภารกิจ
ทะเบียนคุมการใช้บัตรเติมน้ำมันรถราชการทะเบียนคุมการใช้บัตรเติมน้ำมันรถราชการ สิ่งที่ควรพิจารณา เพิ่มเติมในทะเบียนคุมการใช้บัตรเติมน้ำมัน เพื่อใช้ในการรายงานสำนักงานตรวจสอบภายใน คือ จำนวนลิตรของการเติมน้ำมันแต่ละครั้ง
ใบบันทึกรายการขาย (Sales Slip) หมายเลขทะเบียนรถ และเลขกิโลเมตรที่วิ่ง
การรายงานที่เกี่ยวข้องกับการใช้รถราชการการรายงานที่เกี่ยวข้องกับการใช้รถราชการ 1. การรายงานการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงของมหาวิทยาลัยขอนแก่น (E-Utility) ข้อมูลที่ต้องรายงาน หมายเลขบัตรเติมน้ำมันฯ หมายเลขทะเบียนรถราชการ ปริมาณการใช้น้ำมัน (ลิตร) จำนวนเงินที่ใช้ เลขกิโลเมตรการวิ่งของรถแต่ละคัน
รายงานการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงของมหาวิทยาลัยขอนแก่น (E-Utility) ข้อสังเกต ความถูกต้องของการบันทึกเลขกิโลเมตร จำนวนเงินที่ใช้จริง เปรียบเทียบกับวงเงินของบัตร
ความถูกต้อง ครบถ้วน ของการบันทึกข้อมูลเลขกิโลเมตร
สรุปรายงานการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงสรุปรายงานการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง • รายงานต่อสำนักงานตรวจสอบภายใน ข้อมูลที่ต้องรายงาน หมายเลขทะเบียนรถราชการ ปีที่ได้มา ประเภทรถ สภาพการใช้งาน ปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง (จำนวนลิตร) ระยะทางการใช้ (เลขกิโลเมตรการวิ่งของรถแต่ละคัน) อัตราการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อกิโลเมตร ข้อมูลต้องสอดคล้องกัน และอัตราการใช้น้ำมันฯ ควรมีอัตราที่เหมาะสมตามสภาพรถ