1 / 26

Food Safety Modernization Act ต่อโรงงาน ผลิตอาหารของไทย

Food Safety Modernization Act ต่อโรงงาน ผลิตอาหารของไทย. โดย ดุจเดือน ศศะนาวิน ผู้อำนวยการกองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร มกอช. วันที่ 26 มกราคม 2555 สำหรับการสัมมนา “ US Food Safety Modernization Act กับการเตรียมความพร้อมของโรงงานผลิตอาหารที่ส่งออกไปสหรัฐอเมริกา”. กรอบการนำเสนอ.

lecea
Download Presentation

Food Safety Modernization Act ต่อโรงงาน ผลิตอาหารของไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Food Safety Modernization Act ต่อโรงงาน ผลิตอาหารของไทย โดย ดุจเดือน ศศะนาวิน ผู้อำนวยการกองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร มกอช. วันที่ 26 มกราคม 2555 สำหรับการสัมมนา “US Food Safety Modernization Act กับการเตรียมความพร้อมของโรงงานผลิตอาหารที่ส่งออกไปสหรัฐอเมริกา”

  2. กรอบการนำเสนอ • ความเป็นมา • สาระสำคัญ • ระเบียบย่อยที่ต้องติดตาม  ระเบียบย่อยในปี 55  ระเบียบที่มีผลกระทบสูง กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  3. ความเป็นมา • ปัญหาวิกฤตการณ์ความปลอดภัยด้านอาหาร / 1 ใน 6 ประชากร US = foodborn illness • วัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบ ความปลอดภัยด้านอาหาร นำไปสู่การคุ้มครอง สุขภาพประชากรที่ดีขึ้น • ประธานาธิบดี ลงนามประกาศใช้ 4 ม.ค. 54 กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  4. แบ่งเป็น 4 ส่วน I. การป้องกันปัญหาความปลอดภัยอาหาร II. การตรวจสอบปฏิบัติให้สอดคล้องระเบียบและ ตอบสนองต่อปัญหาความปลอดภัยอาหาร III. ความปลอดภัยอาหารนำเข้า IV. การเป็นหุ้นส่วนหรือพันธมิตร กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  5. มาตรา 101 การตรวจสอบบันทึก • เจ้าหน้าที่เข้าสำเนาบันทึกทำข้อมูลของ สถานประกอบการได้  แผน food safety  ผล lab  ขั้นตอนการขนส่งวัตถุดิบ – สินค้า  มาตรการป้องกัน / ควบคุมความเสี่ยง • สถานประกอบการต้องเก็บรักษาข้อมูลไว้อย่างน้อย 2 ปี • บังคับใช้แล้ว กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  6. มาตรา 102 การจดทะเบียนสถานประกอบการ • สถานประกอบการ (ในประเทศ / ต่างประเทศ) ต้องต่ออายุทะเบียนทุก 2 ปี (ต.ค. – ธ.ค.) ปีแรก 55 • USFDA อาจเพิกถอนทะเบียนได้ หากเห็นว่ากระทบ • ห้ามจำหน่าย • สถานประกอบการเสนอแผนแก้ไขปัญหาได้ Food safety กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  7. มาตรา 103 การวิเคราะห์อันตรายและการควบคุมป้องกัน • ผู้ประกอบการ ต้องประเมินอันตราย ควบคุม ติดตาม มีแผนขั้นตอนปฏิบัติ และจัดเก็บเอกสาร ไม่น้อยกว่า 2 ปี • จะออกร่างระเบียบย่อย ก.ค. 55 เพื่อบังคับใช้ ในปี 57 • อาหารทะเล น้ำผัก – ผลไม้ ใช้ข้อกำหนด HACCP low – acid canned food กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  8. มาตรา 104 Performance standard • USFDA + USDA ทบทวน/ระบุการปนเปื้อนอาหาร ที่สำคัญที่สุดทุก 2 ปี • หลักจากที่เสนอ guildline /ระเบียบที่ใช้กับผลิตภัณฑ์ มาตรา 105 มาตรฐานความปลอดภัย produce • จะออกระเบียบสุดท้ายมาตรฐานผลิต / เก็บเกี่ยว • produce ที่มีความเสี่ยง • ปี 55 - 56 กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  9. มาตรา 106 การป้องกันการปนเปื้อนโดยเจตนา • ออกระเบียบเพิ่มเติมการป้องกันการปนเปื้อนโดย • เจตนา ในอาหารที่เป็น bulk / batch ก่อนบรรจุ • หีบห่อ • ก.ค. 55 กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  10. มาตรา 107 การจัดเก็บค่าธรรมเนียม • การตรวจสอบซ้ำ • การเรียกคืนสินค้า • การเข้าร่วมโครงการ Voluntary Qualified Importer Program ของผู้นำเข้า • การรับรองการส่งออก  ก่อนปีงบประมาณ 60 วัน มาตรา 108 food defense • จัดเตรียมกลยุทธและแผนป้องกันประเทศ กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  11. มาตรา 111 การขนส่งอาหารที่ได้สุขอนามัย • เน้นเรื่องในประเทศ • ออกแนวทางปฏิบัติ/แก้ไขกฎระเบียบเรื่องนี้ มาตรา 114 ข้อกำหนดการแปรรูปหลังเก็บเกี่ยวหอยนางรมสด มาตรา 115 Port shopping • จะแก้ไขมาตรา 308 ของ bioterrorism ทั้ง 2 • มาตรา • ไม่ได้ระบุระยะเวลาแน่นอน กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  12. มาตรา 201 การตรวจสอบสถานประกอบการ • เพิ่มการตรวจสอบสถานประสอบการใน ต่างประเทศ  ปี 55 ตรวจไม่น้อยกว่า 600 แห่ง  เพิ่มขึ้น 2 เท่าทุกปี (อาหารทะเลจะเพิ่มอัตราการตรวจสอบ) • สหรัฐฯ สามารถปฏิเสธการนำเข้าสินค้าจาก • สถานประกอบการที่ไม่ยินยอมให้ตรวจสอบได้ กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  13. มาตรา 202 Lab accreditation • จัดทำแผนรับรอง AB ห้องปฏิบัติการและ Lab ที่ได้การรับรองจาก USDA  ม.ค. 56  ส.ค. 56 ให้ตรวจข้อกำหนดเฉพาะ อาหารนำเข้า • AB ต่างประเทศ ที่ USFDA รับรองอาจให้ • การรับรอง lab แทน USFDA โดยประเมินใหม่ • ทุก 5 ปี กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  14. มาตรา 204 การตรวจสอบย้อนกลับ • จัดทำโครงการนำร่อง ต.ค. 54 • กำหนดสินค้าที่มีความเสี่ยงสูง ม.ค. 55 • ร่างข้อกำหนดการบันทึกข้อมูลเพิ่มเติม ม.ค. 56 สถานประกอบการที่มีความเสี่ยงสูง • เก็บรักษาข้อมูลไม่มากกว่า 2 ปี และเข้าถึงข้อมูลได้ภายใน 24 ชม. กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  15. มาตรา 206 การเรียกคืน • ให้อำนาจ USFDA เรียกคืนสินค้าโดยบังคับได้ มาตรา 207 การกักกันอาหาร • ออกระเบียบเกี่ยวกับขั้นตอนการกักกันอาหารที่ • ต้องสงสัยว่าไม่ถูกสุขอนามัย/อาจส่งผลต่อ • สุขภาพ มนุษย์ – สัตว์ - กักกันไม่เกิน 30 วัน -บังคับใช้แล้ว ตั้งแต่ ต.ค. 54 กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  16. มาตรา 208 มาตรฐานการลดการปนเปื้อนและการกำจัดทิ้ง • ยังไม่ระบุกรอบระยะเวลา มาตรา 209 – 210 • เรื่องภายใน US มาตรา 211 การจดทะเบียนอาหาร Reportable food • กำหนดข้อมูลที่ต้องการเพิ่มเติมในการยื่น • จดทะเบียน • ก.ค. 55 กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  17. มาตรา 301 แผนงานทวนสอบผู้จัดหาสินค้าต่างประเทศ FSVP • ผู้นำเข้าต้องรับผิดชอบว่าอาหารนำเข้ามาจาก Supplier ที่ปฏิบัติสอดคล้องกฎระเบียบ US มีการควบคุมความเสี่ยง • บังคับใช้ ม.ค. 56 • ครอบคลุม lot – by – lot certification annual on – site inspection etc กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  18. มาตรา 302 แผนงานสมัครใจผู้นำเข้าที่มีคุณสมบัติดี VQIP • จัดทำแผนงาน ก.ค. 55 • มีการประเมินผู้นำเข้าอย่างน้อย 1 ครั้ง ทุก 3 ปี • เก็บค่าธรรมเนียม ตามมาตรา 107 • อาหารจากผู้นำเข้า VQIP นี้จะผ่านกระบวนการ รับรองจากผู้ตรวจประเมินทุก shipment • เร่งรัดกระบวนการนำเข้าได้ กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  19. มาตรา 303 ให้อำนาจในการออกข้อกำหนดให้มีการรับรอง อาหารนำเข้า • ให้อำนาจ USFDA กำหนดให้มีการ Certify อาหาร นำเข้าตามความเสี่ยง/แหล่งกำเนิดจากตัวแทนรัฐบาล ของประเทศส่งออก - การรับรองเที่ยวสินค้า - การรับรองสถานประกอบการ • ให้อำนาจ USFDA จะต้องออกข้อกำหนดอีกครั้งหาก ต้องการให้มี certify กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  20. มาตรา 304 การแจ้งล่วงหน้าสินค้านำเข้า • ผู้นำเข้าต้องแจ้ง หากสินค้า(อาหาร/อาหารสัตว์) นั้นถูกปฏิเสธนำเข้าจากประเทศอื่น • แจ้งผ่านระบบ bioterrorism act • USFDA มีสิทธิเคลื่อนย้าย/กักกัน/กำจัด หากเห็นว่ามีความเสี่ยง • บังคับใช้แล้ว ตั้งแต่ 3 ก.ค. 54 กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  21. มาตรา 305 การสร้างขีดความสามารถของต่างประเทศ • จะมีแผนการทำงานร่วมกับรัฐบาลต่างประเทศ • เช่น MRA การฝึกอบรม มาตรา 306 การตรวจสอบสถานประกอบการต่างประเทศ • จะส่งผู้ตรวจสอบไปยังประเทศส่งออกอาหารทะเล • -ระบบฟาร์ม/การเก็บเกี่ยว/ขนส่ง กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  22. มาตรา 307 การตรวจรับรองผู้ตรวจประเมินที่ 3 • จะทำ Accreditation system รวมทั้งการยอมรับ AB ต่างประเทศเพื่อรับรองผู้ตรวจประเมิน • ม.ค. 56 • AB ต่างประเทศยื่นรายชื่อผู้ตรวจประเมินให้ USFDA เผยแพร่ ซึ่ง USFDA มีสิทธิ์ถอดถอน ผู้ตรวจประเมินได้ กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  23. มาตรา 308 การจัดตั้งสำนักงานต่างประเทศ • USFDA จะจัดตั้งสำนักงานต่างประเทศเพื่อช่วยเหลือมาตรการความปลอดภัยอาหารส่งออกไปสหรัฐฯ มาตรา 401- 405 เรื่องอื่นๆ • เช่น งบประมาณ การปฏิบัติตามข้อตกลง • ต่างประเทศ กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  24. การติดตามกฎระเบียบย่อย • ภายใน 2 ปี 6 เดือน (ภายใน ก.ค. 56) จะต้องมีกฎระเบียบย่อย/แนวทางปฏิบัติไม่ต่ำกว่า 30 เรื่อง • ประสานงาน มกอช. และติดตาม Notification การให้ข้อมูล/ข้อคิดเห็น • ภาพรวม • การตรวจสอบมากขึ้น • ต้องจัดเก็บข้อมูลเพิ่มขึ้น • การจัดทำแผนต่างๆ ของสถานประกอบการ • บทบาทหน่วยงานของรัฐบาล ประเทศส่งออกมากขึ้น กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  25. กฎระเบียบย่อยที่จะมีกรอบระยะเวลาจะออกมาในปี 55 • มาตรา 103 ระเบียบการวิเคราะห์อันตรายและ การควบคุมป้องกัน • มาตรา 106 การป้องกันการปนเปื้อนโดยเจตนา • มาตรา 108 food defense • มาตรา 111 การขนส่งอาหารที่ได้สุขอนามัย • มาตรา 201 การตรวจสอบในต่างประเทศ • มาตรา 204 การตรวจย้อนกลับ • มาตรา 211 ข้อมูลในการจดทะเบียน reportable food • มาตรา 301 FSVP • มาตรา 302 VQIP กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  26. ขอขอบคุณ www.acfs.go.th กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

More Related