180 likes | 915 Views
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพระดับอำเภอ (รสอ.) District Health System (DHS) ปี 2558. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย. ระบบสุขภาพระดับอำเภอ (รสอ.) District Health System (DHS).
E N D
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพระดับอำเภอ (รสอ.)District Health System (DHS)ปี 2558 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ระบบสุขภาพระดับอำเภอ (รสอ.) District Health System (DHS) ระบบการทำงานด้านสุขภาพระดับอำเภอร่วมกันของทุกภาคส่วนด้วยการบรูณาการทรัพยากรภายใต้บริบทของพื้นที่ที่ผ่านกระบวนการชื่นชม และการจัดการความรู้ส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนพึ่งตนเองได้ และไม่ทอดทิ้ง โดยมีเป้าหมายร่วมกัน เพื่อสุขภาวะของประชน
เป้าหมาย (Purpose)การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ • คุณภาพชีวิตของประชาชนดีขึ้น สามารถพึ่งตนเองและดูแลสุขภาพตนเองได้ ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน • สถานะสุขภาพ (Health status) ของประชาชนในอำเภอดีขึ้น สามารถจัดการปัญหาสุขภาพได้ด้วยตนเอง • เกิดเครือข่ายร่วมกันในการจัดการสุขภาพที่เข้มแข็ง • ทำให้การบริการสุขภาพมีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ ผู้ให้บริการมีความสุขในการทำงาน
Cause effect • สภาพปัญหา/สถานการณ์ผลงาน • การเข้าถึงบริการและความครอบคลุมการให้บริการ • สถานบริการผ่านเกณฑ์คุณภาพต่ำ • บุคลากรขาดศักยภาพการให้บริการ • การมีส่วนร่วมจากทุกภาคีสุขภาพ การเข้าถึงบริการของประชาชน ปัญหาความครอบคลุมการจัดบริการ ตามกลุ่มวัย/service plan KPI ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยงระบบ บริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ ( > ร้อยละ 80) ศักยภาพ DHS มาตรการ • ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับบริการพื้นฐานและสามารถดูแลตนเองได้ • ประชาชนเข้าถึงบริการ ที่ ศสม./รพ.สต.ที่มีคุณภาพ • หน่วยบริการสามารถขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านสุขภาพด้วยกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ตำบล • ลดอัตราป่วยในโรคที่เป็นปัญหาสุขภาพในพื้นที่ จัดบริการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ฟื้นฟูและการสามารถดูแลตนเองได้ เพิ่มการเข้าถึงและครอบคลุมบริการปฐมภูมิ พัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิ ตาม องค์ประกอบ UCARE มาตรการสนับสนุน การพัฒนาโครงสร้างสถานที่และครุภัณฑ์ ระบบสนับสนุน พัฒนาบุคลากร แบ่งปันทรัพยากร Result
กระจายผู้ป่วยโรคเรื้อรัง DM HT กลับไป ศสม./รพ.สต. • จัดตั้ง ศสม.แห่งใหม่จัดบริการให้ครอบคลุม ปชก./พื้นที่ ปชก.หนาแน่น แหล่งท่องเที่ยว • (ปี58 =วพ.,ชค.) • มีการจัดบริการให้ครบทั้ง Acute และ chronic Care ชันสูตร ทันตกรรม ER ส่งต่อ การเยี่ยมบ้าน Home Care/LTC2/end of life เป็นต้น • จัดบริการบูรณาการตามกลุ่มวัย/service plan/ Essential Care เชิงรุก ตั้งรับ • เสริมสร้างความเข้มแข้งของชุมชน • ส่งเสริมให้ประชาชนสามารถดูแลตนเองได้ (self Care) 2. 1A&4C • 1. PP& Rehap มาตรการเพิ่มการเข้าถึงและความครอบคลุมบริการ มาตรการจัดบริการpp &Rehab 3. DHS เข้มแข็ง มาตรการ พัฒนาDHS • มาตรการสนับสนุน • การพัฒนาสถานที่และครุภัณฑ์ • การพัฒนาคุณภาพบริการ พัฒนาเครือข่าย/จัดระบบสนับสนุน /จัดระบบout reach serviceแพทย์ที่ปรึกษา • การพัฒนาศักยภาพบุคลากร ลปรร. CBL PCA R2Rวิจัย ความพึงพอใจผู้รับ - ผู้ให้ • แบ่งปันทรัพยากร คน เงิน ของ ข้อมูล • คณะกรรมการDHS/ คปสอ. • จัดทำแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการและแผนการติดตามประเมินผล ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิ กับชุมชนและท้องถิ่น อย่างมีส่วนร่วม (one district one plan) • แผนบรูณาการ 5 กลุ่มวัย/service plan 10 สาขา /Essential Care • แผนการแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ (อำเภอ ตำบล หมู่บ้านจัดการสุขภาพ) • พัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง,บริการแพทย์แผนไทย,สุขภาพจิตชุมชน,ฟื้นฟู • พัฒนาระบบคุณภาพ (PCA คปสอ.ติดดาว รพ.สต.ติดดาว) • เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน พัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ภาคประชาชน • ความร่วมมือกับท้องถิ่นในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณสาธารณะ
กรอบแนวคิดของระบบสุขภาพระดับอำเภอ(Conceptual Framework) ประชาชนมีสุขภาวะ สถานะสุขภาพของประชาชนดี สามารถป้องกันภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพ ระบบบริการที่ดีมีคุณภาพ ครอบคลุมทุกกลุ่มวัย ตอบสนองความต้องการของประชาชน สร้างเครือข่ายความร่วมมือทุกภาคส่วนในการจัดการสุขภาพชุมชน ส่งเสริมและสนับสนุน ประชาชนและชุมชนร่วมกันดูแลสุขภาพ พึ่งตนเองได้ และไม่ทอดทิ้งกัน พัฒนาระบบบริการสุขภาพให้ครอบคลุม มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ พัฒนาการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการรับความเสี่ยงจากปัจจัยทางสังคมอันคุกคามสุขภาพ หลัการดำเนินงานของระบบสุขภาพระดับอำเภอ การทำงานร่วมกันในระดับอำเภอ (Unity District Health team : U ) การมีส่วนร่วมของเครือข่าย (Community participation: C ) การทำงานจนเกิดคุณค่าทั้งผู้รับและผู้ให้บริการ (Appreciation and Quality: A ) การแบ่งปันทรัพยากรและการพัฒนาบุคลากร (resource sharing and development: R ) การให้บริการสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น (Essential care : E )
ทิศทางการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล จังหวัดเลย
สถานการณ์ 57 เป้าหมายปี 58 1) 1) Re –Acc : รพร.ด่านซ้าย 2)ได้รับการ Accredit เพิ่มจำนวน 8 แห่ง : รพ.ภูเรือ รพ.ท่าลี่ รพ.นาด้วง รพ.นาแห้ว รพ.เชียงคาน รพ.ปากชม รพ.ผาขาว รพ.ภูกระดึง 3) รับรองขั้น 1 : รพ.หนองหิน • รพ.รับรองขั้น 2 จำนวน 8 แห่ง • รพ.รับรอง HAเพิ่มขึ้นจำนวน 3 แห่ง (ภูหลวง วังสะพุง เอราวัณ) • Re Accredit ครั้งที่ 1 : รพ.เลย รพ.จิตเวชเลยฯ • Re Accredit ครั้งที่ 2 : รพร.ด่านซ้าย โรงพยาบาล ทุกระดับได้รับการรับรองคุณภาพ HA การพัฒนาระดับ จังหวัด กิจกรรมพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลด้วยระบบพี่เลี้ยง:QLN (เครือข่ายเลย+จิตเวชเลยฯ/เครือข่ายรพร.ด่านซ้าย) พัฒนาผสมผสานด้วยกระบวนการคู่ Buddy กับรพ.ที่ได้รับการรับรองแล้ว/บูรณาการพัฒนาเครือข่ายวิชาชีพ มีทีมพี่เลี้ยงที่ปรึกษาจังหวัด ดูแลใกล้ชิด (ผ่านอบรมหลักสูตร HA451/52) หนุนเสริมด้วยการสนับสนุนวิชาการ จากที่ปรึกษาจังหวัด/เครือข่ายเขต/สรพ. การพัฒนาระดับอำเภอ
แผนการดำเนินงาน Site visit 3 ประเมินพี่เลี้ยง Planning เครือข่าย Site visit 2 ประชุมผู้จัดการ/พี่เลี้ยง Site visit 1 Act to Acc. เติมเครื่องมือ/ความรู้ เตรียมตัวสู่กระบวนการรับรอง ยื่นเอกสารประเมินตนเอง 6 11 12 1 2 3 4 5 7 9 8