600 likes | 1.09k Views
District Health System. District Health System ( DHS ). District Health System ( DHS ) ระบบสุขภาพอำเภอ District Health Service System ( DHSS ) ระบบ บริการสุขภาพระดับอำเภอ District Health Management or District Health System Management การจัดการระบบสุขภาพอำเภอ.
E N D
District Health System ( DHS ) • District Health System ( DHS ) ระบบสุขภาพอำเภอ • District Health Service System ( DHSS ) ระบบบริการสุขภาพระดับอำเภอ • District Health Management or District Health System Management การจัดการระบบสุขภาพอำเภอ
District Health System ( DHS ) • District Health System ( DHS ) ระบบสุขภาพอำเภอ • District Health Service System ( DHSS ) ระบบบริการสุขภาพระดับอำเภอ • District Health Management or District Health System Management การจัดการระบบสุขภาพอำเภอ
District Health System ( DHS ) • District Health System ( DHS ) ระบบสุขภาพอำเภอ • District Health Service System ( DHSS ) ระบบบริการสุขภาพระดับอำเภอ • District Health Management or District Health System Management การจัดการระบบสุขภาพอำเภอ
District Health System ( DHS ) • District Health System ( DHS ) ระบบสุขภาพอำเภอ • District Health Service System ( DHSS ) ระบบบริการสุขภาพระดับอำเภอ • District Health Management or District Health System Management การจัดการระบบสุขภาพอำเภอ
District Health System • ระบบสุขภาพอำเภอ - การทำงานสุขภาพ โดยใช้อำเภอเป็นฐาน - มองทุกส่วนในอำเภอเป็นเนื้อเดียวกัน - โดยมีเป้าหมายที่จะขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพของคนทั้งอำเภอ - ผสมผสานทั้งงานส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู เข้าด้วยกัน
Health Service System Primary Care Secondary Care Tertiary Care
District Health Service System ( DHSS ) รพ.ศ. / รพ.ท. Hospital Care รพ.ชุมชน อปท. DHS District Health Office ชุมชน ส่วนราชการอื่น Primary Care PCU / รพ.สต.
ทำไมต้อง District Health System • โครงสร้างระดับอำเภอ มีศักยภาพมากพอที่จะรองรับนโยบายจาก ส่วนกลาง ( Top-down policy ) • มีความใกล้ชิดมากพอต่อการรับรู้ถึงความพร้อม ความต้องการ และ ความจำเป็นในพื้นที่ ( Bottom-up policy ) • ระบบบริการสุขภาพระดับอำเภอ (District Health Service System) มีศักยภาพในการบูรณาการ หรือผสมผสานบริการ กับภาคส่วนต่างๆ • เป็นจุดที่เหมาะสมต่อการประสานในระดับที่สูงขึ้นไป
ทำไมต้อง District Health System Top Down Hospital - Operational integration - Administrative integration Primary care Integrated Health Care System DHS Ref. : J-P Under and Bart Cricl, Principle of Health Infrastructure Planning in Less Developed. Journal of Health Planning and Management, Vol. 10, 113-128 (1996) Bottom Up
Management of District Health System แนวทาง การทรงงาน ของ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว
แนวทางการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวแนวทางการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ศาสตราจารย์นายแพทย์เกษม วัฒนชัย นำมาเผยแพร่
วิธีการคิด • ก่อนที่จะเริ่มทำงานใดใด ให้คิดถึงสิ่งต่อไปนี้ ๑. ทำอะไร ๒. ทำอย่างไร ๓. ทำเพื่อใคร ๔. ทำแล้วได้อะไร
Healthy Thailand Healthy District MCH อำเภอสุขภาพดี ๘๐ ปี ยังแจ๋ว อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ผู้สูงอายุ วัยเรียน วัยทำงาน วัยรุ่น
Healthy Thailand Healthy District บุคคล อำเภอสุขภาพดี ๘๐ ปี ยังแจ๋ว อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง รัฐ ครอบ ครัว อปท. ชุมชน
เป้าหมายของระบบสุขภาพอำเภอเป้าหมายของระบบสุขภาพอำเภอ อำเภอสุขภาวะ • สถานะสุขภาพ (Health status ) ของประชาชนในอำเภอดีขึ้น • ประชาชนดูแลตนเองได้ ( Self care ) • ทีมสุขภาพอำเภอมีความเข้มแข็ง พร้อมรับมือปัญหาสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไป
รู้ - รัก - สามัคคี • รู้ คือ จะทำอะไรต้องไปศึกษาให้รู้จริง • รัก คือ จะทำอะไรต้องสร้างฉันทะกับสิ่งนั้น ๆ • สามัคคี คือ ทำอะไรก็ให้ทำเป็นทีม ร่วมมือร่วมใจกันทำให้มีประสิทธิภาพ
๖ หลักการในการทำงาน ๑. คิด Macro ทำ Micro ๒. ทำเป็นขั้นเป็นตอน ๓. ทำเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย ๔. ทำอะไรให้นึกถึงภูมิสังคมของที่นั้น ๆ “ เข้าถึง เข้าใจ พัฒนา ” ๕. การสื่อความ การประสาน และการบูรณาการ ( Communication, Coordination and Integration ) ๖. ทำอะไรต้องมีผู้เป็นเจ้าของ
District Health System ( DHS ) • Context based • Evidence based
แม่อาย พม่า ฝาง ไชยปราการ เวียงแหง เชียงดาว ปาย พร้าว แม่ฮ่องสอน แม่แตง สันทราย เชียงใหม่
District Health System ( DHS ) • Context based • Evidence based
District Health System ( DHS ) • Context based • Evidence based • Hospital based • Community based
สถิติ 5 อันดับโรค ที่ OPD • Hypertention • HIV • Acute Pharyngitis • Dyspepsia • Low Back Pain
สถิติ 5 อันดับโรค ที่IPD • Neonatal jaudice • Diarrhea • COPD • โรคระบบย่อยอาหารอื่นๆ • Pneumonia • Heart failure
สถิติ 5 อันดับโรค ระบาดวิทยา • Diarrhea • Pyrexia • Conjunctivitis • Pneumonia • D.H.F
สาเหตุการตาย 5 อันดับ • Heart failure • มะเร็ง • ติดเชื้อในกระแสเลือด • อุบัติเหตุ • ไตวาย
แนวทางการจัดทำโครงการพัฒนาประเด็นสุขภาพร่วมระดับอำเภอ( One District One Projected – ODOP ) • ตามยุทธศาสตร์กระทรวง : ๕ กลุ่มอายุ ๔ ประเด็น • ๕ กลุ่มอายุ ๑. สตรี ๒. เด็ก เยาวชน ๓. วัยแรงงาน ๔. สูงอายุ ๕. ผู้พิการ • ๔ ประเด็น ๑. NCD ๒. อาหาร ๓. ส่ิงแวดล้อม สุขาภิบาลอาหาร ๔. Emerging disease
แนวทางการจัดทำโครงการพัฒนาประเด็นสุขภาพร่วมระดับอำเภอ( One District One Projected – ODOP ) • ตามยุทธศาสตร์กระทรวง : ๕ กลุ่มอายุ ๔ ประเด็น • ตามหลักสุขภาพชุมชนของ ศ.นพ.ประเวศ วะสี • ตามหลักบริการปฐมภูมิของ รศ.นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพ
๖ หลักการในการทำงาน ๑. คิด Macro ทำ Micro ๒. ทำเป็นขั้นเป็นตอน ๓. ทำเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย ๔. ทำอะไรให้นึกถึงภูมิสังคมของที่นั้น ๆ “ เข้าถึง เข้าใจ พัฒนา ” ๕. การสื่อความ การประสาน และการบูรณาการ ( Communication, Coordination and Integration ) ๖. ทำอะไรต้องมีผู้เป็นเจ้าของ
District Health Service System ( DHSS ) รพ.ศ. / รพ.ท. Hospital Care รพ.ชุมชน อปท. DHS District Health Office ชุมชน ส่วนราชการอื่น Primary Care PCU / รพ.สต.
District Health System ( DHS ) คปสอ. หน่วยงาน รพ.สต. อปท. ชุมชน
District Health System ( DHS ) อำเภอสุขภาวะ คปสอ. หน่วยงาน รพ.สต. อปท. ชุมชน
District Health System ( DHS ) อำเภอสุขภาวะ HRM PCT คปสอ. FMT PTC ENV & IC หน่วยงาน รพ.สต. อปท. ชุมชน
ทำไมต้อง District Health System Top Down Hospital - Operational integration - Administrative integration Primary care Integrated Health Care System DHS Ref. : J-P Under and Bart Cricl, Principle of Health Infrastructure Planning in Less Developed. Journal of Health Planning and Management, Vol. 10, 113-128 (1996) Bottom Up
Conceptual Framework of Reference for DHS Model • Administrative integration • Single Management Team • Operational Integration • No GAP • No Overlap • The Optimal Flow ( Referal system, Information system, ect. )
District Health System ( DHS ) Primary Prevention Secondary Prevention Tertiary Prevention
แนวทางการประเมินเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอแนวทางการประเมินเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ • กระทรวงสาธารณสุข กำหนดให้เครือข่ายสุขภาพอำเภอ (district health system) เป็นยุทธศาสตร์และตัวชี้วัดของกระทรวง โดยเน้นให้มีการทำงานร่วมกันของผอ.รพ. กับสาธารณสุขอำเภอ และการทำงานของจนท.สารณสุขร่วมกับองค์กรปกครองท้องถิ่นและชุมชน ซึ่งมีการกำหนดให้ทุกอำเภอมีการแก้ปัญหาตามบริบท และส่งเสริมให้ใช้ระบบ พบส. โดยให้พี่ช่วยน้อง น้องช่วยพี่ พี่น้องช่วยกัน
แนวทางการประเมินเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอแนวทางการประเมินเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ • กำหนดตัวชี้วัด ๒ ข้อ ๑. ประเมินตนเอง ( Self assessment )ของระบบสุขภาพอำเภอเป็นลักษณะบันได ๕ ขั้น (เป็นขั้นตอนของการพัฒนา) ๒. การดำเนินงานหนึ่งอำเภอหนึ่งประเด็นสุขภาพ ( ODOP )เพื่อแก้ไขปัญหาตามบริบท โดยการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและชุมชน
แนวทางการประเมินเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอแนวทางการประเมินเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ • กำหนดตัวชี้วัด ๒ ข้อ ๑. ประเมินตนเอง ( Self assessment )ของระบบสุขภาพอำเภอเป็นลักษณะบันได ๕ ขั้น • การทำงานร่วมกันในระดับอำเภอ • การทำงานจนเกิดคุณค่า ทั้งกับผู้รับบริการและตัวผู้ให้บริการเอง • การแบ่งปันทรัพยากร และการพัฒนาบุคลากร • การให้บริการสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น • การมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน
แนวทางการประเมินเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอแนวทางการประเมินเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ • กำหนดตัวชี้วัด ๒ ข้อ ๑. ประเมินตนเอง ( Self assessment )ของระบบสุขภาพอำเภอเป็นลักษณะบันได ๕ ขั้น • Unity District Health System • การทำงานจนเกิดคุณค่า ทั้งกับผู้รับบริการและตัวผู้ให้บริการเอง • การแบ่งปันทรัพยากร และการพัฒนาบุคลากร • การให้บริการสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น • การมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน
แนวทางการประเมินเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอแนวทางการประเมินเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ • กำหนดตัวชี้วัด ๒ ข้อ ๑. ประเมินตนเอง ( Self assessment )ของระบบสุขภาพอำเภอเป็นลักษณะบันได ๕ ขั้น • การทำงานร่วมกันในระดับอำเภอ • Appreciation • การแบ่งปันทรัพยากร และการพัฒนาบุคลากร • การให้บริการสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น • การมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน
แนวทางการประเมินเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอแนวทางการประเมินเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ • กำหนดตัวชี้วัด ๒ ข้อ ๑. ประเมินตนเอง ( Self assessment )ของระบบสุขภาพอำเภอเป็นลักษณะบันได ๕ ขั้น • การทำงานร่วมกันในระดับอำเภอ • การทำงานจนเกิดคุณค่า ทั้งกับผู้รับบริการและตัวผู้ให้บริการเอง • Resource sharing and human development • การให้บริการสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น • การมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน
แนวทางการประเมินเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอแนวทางการประเมินเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ • กำหนดตัวชี้วัด ๒ ข้อ ๑. ประเมินตนเอง ( Self assessment )ของระบบสุขภาพอำเภอเป็นลักษณะบันได ๕ ขั้น • การทำงานร่วมกันในระดับอำเภอ • การทำงานจนเกิดคุณค่า ทั้งกับผู้รับบริการและตัวผู้ให้บริการเอง • การแบ่งปันทรัพยากร และการพัฒนาบุคลากร • Essential care • การมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน
แนวทางการประเมินเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอแนวทางการประเมินเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ • กำหนดตัวชี้วัด ๒ ข้อ ๑. ประเมินตนเอง ( Self assessment )ของระบบสุขภาพอำเภอเป็นลักษณะบันได ๕ ขั้น การวัดผล :วัดจากความก้าวหน้า โดยเมื่อสิ้นปีงบประมาณ มีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้นอย่างน้อย ๑ ขั้น ของเนื้อหา หรืออย่างน้อยระดับ ๓ ในแต่ละหัวข้อย่อยขึ้นไป