610 likes | 628 Views
9 Maximum Likelihood Estimator I. Asst. Prof. Dr. Peerapol Yuvapoositanon, PhD, DIC Department of Electronic Engineering and Graduate School of Electrical Engineering Mahanakorn University of Technology. PDF v.s . Likelihood function.
E N D
9Maximum Likelihood EstimatorI Asst. Prof. Dr. Peerapol Yuvapoositanon, PhD,DIC Department of Electronic Engineering and Graduate School of Electrical Engineering Mahanakorn University of Technology Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
PDF v.s. Likelihood function • สิ่งหนึ่งที่ต้องเปลี่ยนความเข้าใจก็คือ ที่ผ่านมาเรามองว่า ฟังก์ชัน pdf นั้นเป็นฟังก์ชันของข้อมูล x • แต่หากเราใช้มุมมองใหม่ว่านั้นเป็นฟังก์ชันของตัวประมาณค่า (เช่น A ใน x=A+w ) • เราเรียกว่าฟังก์ชันควรจะเป็น (Likelihood function) Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
PDF Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Likelihood Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Likelihood function Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
ในตอนนี้ เราจะมาพิจารณาตัวประมาณค่าที่ให้ค่าควรจะเป็นสูงสุด Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
สมมติว่าเราต้องการการประมาณค่าจริง จากชุดข้อมูล โดยมีค่า Joint pdf ของเซตของข้อมูลคือ Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
PDF และ Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
อองซามเบิ้ล Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Q ค่าประมาณค่าไหนจึงจะถูกต้องเหมาะสมกับลักษณะสัญญาณ • A ขึ้นกับว่าสัญญาณสังเกตการณ์(Observation data) นั้น มีค่าอยู่ในย่านบวกหรือลบ • ถ้าพิจารณา x(1) ใช้ • ถ้าพิจารณา x(8) ใช้ Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
การเลือกตัวประมาณค่า Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
ตัวอย่างที่ 6.1ลองพิจารณาถึงปัญหาในการหาค่าคงที่ ที่ฝังอยู่ในสัญญาณรบกวน ซึ่งเป็นตัวอย่างที่เคยผ่านมาในบทก่อนๆ โดยมีข้อมูลจากการสังเกตการณ์เป็น Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
ตัวแปร ในสมการ (6.4) นี้เป็นสมาชิกหนึ่งของข้อมูลจากการสังเกตการณ์เฉพาะ Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
ดังนั้น • จึงกลายเป็นฟังก์ชันค่าควรจะเป็น Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Likelihood function • เนื่องจากแต่ละ pdf แต่ละตัวเป็นอิสระซึ่งกันและกัน ดังนั้นเขียนได้เป็น Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Log -Likelihood function • แปลงล็อก Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
นั้นเป็นสมการควอดราติกที่เป็นฟังก์ชันของ A Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Maximum Likelihood Estimator • ตัวประมาณค่าควรจะเป็นสูงสุด (Maximum Likelihood Estimator) ที่ได้คือ Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
ตัวอย่างที่ 6.2 ยังคงปัญหาในการหาค่าคงที่ ที่ฝังอยู่ในสัญญาณรบกวน ซึ่งมีข้อมูลจากการสังเกตการณ์ • ในตัวอย่างที่ 6.2 นี้ มีสิ่งที่ต่างออกไปก็ตรงที่ว่า นั้นเป็น WGN ที่มีความแปรปรวนเป็นค่าของระดับ DC (A) ที่ฝังอยู่ใน หรือ x(n) Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
ความแปรปรวนเป็นค่าคงที่ความแปรปรวนเป็นค่าคงที่ Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Likelihood function Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Log-Likelihood function Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
ซึ่งในบรรทัดสุดท้ายของ แสดงให้ดูเทียบกับวิธีการหาตัวประมาณค่า MVUE ซึ่งจะพบว่าเราจะใช้วิธีเทียบตัวแปรไม่ได้ • สรุปว่าเราไม่สามารถหาตัวประมาณค่าแบบ MVUE ของกรณีที่กำลังพิจารณานี้ได้ Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
สังเกตว่าในตัวอย่างที่ 6.2 นี้ ชี้ให้เห็นความยากในการคำนวณตัวประมาณค่าไร้ไบแอสแบบความแปรปรวนต่ำสุด สิ่งที่เป็นคำถามก็คือ แล้วเราจะใช้วิธีใดในการหาตัวประมาณค่าแบบนี้เพื่อหาค่าตามสมการ (6.4) โดยที่ความแปรปรวนเป็นค่าคงที่ ได้ Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
คุณสมบัติของตัวประมาณค่าควรจะเป็นสูงสุดคุณสมบัติของตัวประมาณค่าควรจะเป็นสูงสุด • MLE คือ การเลือกตัวประมาณค่าที่ทำให้ฟังก์ชันควรจะเป็นมีค่ามากที่สุดสำหรับค่าคงที่ค่าหนึ่ง Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
ตัวประมาณค่าแบบมีไบแอส (Biased Estimator) Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
แต่หากใช้ความสัมพันธ์ของกฏจำนวนข้อมูลขนาดใหญ่ (Law of Large Number) Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
ค่าเฉลี่ยแซมเปิ้ล (Sample mean) จะเข้าสู่ค่าเฉลี่ยกลาง (Mean value) Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
การมีประสิทธิผลแบบเชิงเส้นกำกับ (Asymptotically Efficient) • การมีประสิทธิผลแบบเชิงเส้นกำกับ (Asymptotically Efficient) คือ Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Log-Likelihood Function Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
เทียบเท่ากับศูนย์ Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
สมการควอดราติก • รูปแบบ Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
เทียบสัมประสิทธิ์ Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
จาก (เลือกค่าบวก) Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
ทดสอบการมีไบแอส • ไม่ มีไบแอสเมื่อ Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
เราต้องการ Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
แต่ Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
ดังนั้น Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
หรือมีความหมายว่าตัวประมาณค่า ซึ่งเป็น MLE นั้นเป็นตัวประมาณค่าแบบมีไบแอส (Biased Estimator) Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
แต่หากข้อมูล มีจำนวนมาก • ค่าเฉลี่ยแซมเปิ้ล (Sample mean) จะเข้าสู่ค่าเฉลี่ยกลาง (Mean value) Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
อนุกรมเทย์เลอร์ (Taylor Series) • หากเราทำการแปลงเชิงเส้นด้วยวิธีการแตก อนุกรมเทย์เลอร์ (Taylor Series)โดยสำหรับตัวแปร ของฟังก์ชัน ใดๆ แล้ว จะได้ว่าอนุกรมเทย์เลอร์อันดับที่หนึ่ง (First-order Taylor Series) สามารถแสดงได้เป็น Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
หาก u เป็น Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
ตัวประมาณค่า • ตัวประมาณค่าเป็นฟังก์ชันของ u Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
แทน Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
ซึ่งหาค่าเฉลี่ยกลางได้เป็นซึ่งหาค่าเฉลี่ยกลางได้เป็น Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon
เป็นตัวประมาณค่าแบบไร้ไบแอสแบบเชิงเส้นกำกับ (Asymptotically unbiased estimator) Advanced Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Asst. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon