1 / 74

การแปลงกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ (Implementation)

การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ( Blueprint for Change ) ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2548. การแปลงกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ (Implementation). การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง “Blueprint for Change” - เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและคุณภาพการให้บริการ. การประเมินผลการปฏิบัติงาน.

leroy-kane
Download Presentation

การแปลงกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ (Implementation)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change)ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2548

  2. การแปลงกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ (Implementation) • การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง “Blueprint for Change”- เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและคุณภาพการให้บริการ การประเมินผลการปฏิบัติงาน วิสัยทัศน์ องค์ประกอบที่สำคัญ (กระบวนงาน, บุคลากร, เทคโนโลยี, โครงสร้างพื้นฐาน) ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์

  3. Logic Model Z1 แผนยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ ผลลัพธ์สุดท้าย ประเด็นยุทธศาสตร์ Y1 Y2 เป้าประสงค์ กลยุทธ์ x4 x5 x6 x1 x2 x3 กระบวนงาน แผนปฏิบัติ (โครงการ) ทรัพยากร

  4. Strategy Map การเพิ่มขึ้นของรายได้ รายได้จากลูกค้าใหม่เพิ่ม การแสวงหาลูกค้าใหม่ การบริการที่ดี ราคาเหมาะสม กระบวนการจัดส่ง ที่รวดเร็ว กระบวนการผลิตที่ดี เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะของพนักงาน

  5. แผนที่ทางกลยุทธย์ (Strategy Map Financial Perspective กำไรสูงสุด การลดลงของต้นทุน การเพิ่มขึ้นของรายได้ รายได้จากลูกค้า เก่าเพิ่ม รายได้จากผลิตภัณฑ์ ใหม่เพิ่ม รายได้จากลูกค้าใหม่เพิ่ม Customer Perspective การแสวงหาลูกค้าใหม่ การรักษาลูกค้าเก่า การสร้างความพอใจให้กับลูกค้า การจัดส่งที่ตรงเวลา สินค้าที่มีคุณภาพ ราคาที่สามารถแข่งขันได้ การบริการที่ดี Internal Process Perspective กระบวนการจัดส่งที่รวดเร็ว คุณภาพของสินค้าจากโรงงาน กระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ การบริหารวัตถุดิบที่ดี Learning and Growih Perspective เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ทันสมัย ทักษะของพนักงาน วัฒนธรรมและโครงสร้างองค์กร

  6. ….สถาบันการศึกษาด้านบริหารธุรกิจอันเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ….สถาบันการศึกษาด้านบริหารธุรกิจอันเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ Customers ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ และคุณธรรม ผลงานวิจัยและวิชาการ เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ การให้บริการทางวิชาการ แก่สังคม Internal Processes ระบบประกันคุณภาพภายใน และระบบบริหารจัดการที่คล่องตัว มีประสิทธิภาพ และตรวจสอบได้ มีระบบเครือข่าย เชื่อมโยง การประชาสัมพันธ์ เชิงรุก หลักสูตรและวิธีการเรียน การสอนที่ทันสมัย Learning & Growth อาจารย์ที่เป็นผู้รู้และผู้เชี่ยวชาญ ในศาสตร์ พัฒนาระบบทรัพยากรบุคคล ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ของคณะ Infrastructure ของ คณะ (IT และสภาพแวดล้อม) Finance การหารายได้

  7. แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปี 2548 แผนยุทธศาสตร์ ผลสัมฤทธิ์Results (60%) ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ + ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย มิติ 1 ประสิทธิผลตาม แผนยุทธศาสตร์ แผนการบริหารเปลี่ยนแปลงตามประเด็นยุทธศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงเป็นการทั่วไป (ภาคบังคับ) การจัดทำ ข้อเสนอ การเปลี่ยนแปลง ตัวผลักดันEnablers/ Drivers (40%) มิติ 2 คุณภาพ มิติ 3 ประสิทธิภาพ มิติ 4 การเรียนรู้ และพัฒนา (30%) (10%)

  8. องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์ Strategy-focused Organization การบริหารกระบวนการ ประสิทธิภาพ efficiency ลดรอบระยะเวลาดำเนินการ การพัฒนาขั้นตอนการทำงานให้ดีขึ้น ลดต้นทุน & ความสูญเสีย Reengineering Lean Enterprise Six Sigma TQM เพิ่มผลผลิต กระบวนการบริหารลูกค้า คุณภาพ quality การบริหารการเปลี่ยนแปลง Change Management เพิ่มคุณค่า Value Creation เพิ่มความพึงพอใจ การดูแลผู้รับบริการ เพิ่มความไว้วางใจ ความโปร่งใส มีส่วนร่วม effectiveness ขีดสมรรถนะ capacity-building การวางระบบบริหารจัดการสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ เพิ่มความพร้อมเชิง ยุทธศาสตร์ ทุนมนุษย์ ทุนข้อมูลสารสนเทศ&ทุนความรู้ ทุนองค์กร

  9. การวางระบบบริหารจัดการสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้การวางระบบบริหารจัดการสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ Intangible Assets Management Processes ทุนมนุษย์ Human Capital • Human Capital Development Plan ทักษะ ความรู้ การสร้าง “ความพร้อม” ในการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์Strategic Readiness คุณค่า ขีดความสามารถ ทุนข้อมูลสารสนเทศและทุนความรู้Information Capital • ICT Plan ระบบ ฐานข้อมูล เครือข่าย ทุนองค์การ Organization Capital • Knowledge Mgt. • Individual Scorecard ภาวะผู้นำ ทำงานเป็นทีม วัฒนธรรมองค์กร การถ่ายทอดเป้าหมาย

  10. การบริหารกระบวนงาน แผนยุทธศาสตร์ กระบวนงาน กลยุทธ์ วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ กระบวนงาน โครงการ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย 1.1 1.2 1.3 1. 1) 2) 1) 2) 1) 2) 2.1 2.2 2.3 2. 1) 2) 1) 2) 1) 2) 3.1 3.2 3.3 3. 1) 2) 1) 2) 1) 2) ผลผลิต กิจกรรมทรัพยากร ผลลัพธ์สุดท้าย ผลลัพธ์ (เงิน คน)

  11. ตัวอย่าง แผนยุทธศาสตร์จังหวัด ก. วิสัยทัศน์ “ก. เมืองน่าอยู่เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงเครือข่ายการค้าการลงทุน การบริการและการคมนาคมขนส่งในภูมิภาคสู่สากล” ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด 1. สร้างศักยภาพการแข่งขัน ทางเศรษฐกิจ 1. ร้อยละที่เพิ่มขึ้น ของมูลค่าการจำหน่าย ผลิตภัณฑ์ OTOP 1. เพิ่มมูลค่าการจำหน่าย ผลิตภัณฑ์ OTOP 7 2 2

  12. ค่าเป้าหมาย กระบวนงาน กลยุทธ์ ก. ที่ทำอยู่แล้ว 1. การคัดสรรผลิตภัณฑ์ OTOP 2. การออกแบบ การแสดง และการจำหน่าย 3. การจัดทำมาตรฐานผลิตภัณฑ์ 4. การสร้างเครือข่ายผลิตภัณฑ์ 5. การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ข. ที่ยังไม่ได้ทำ 1. การวิจัยและพัฒนา 2. การสร้าง Brand 3. การพัฒนาหีบห่อ 4. การสร้างฐานข้อมูลที่เข้าถึงได้ง่าย 5. จัดตั้งศูนย์บริการร่วม 1. ร้อยละ 10 1. สร้างศักยภาพ การแข่งขันสินค้า OTOP 2 2

  13. ตัวอย่าง การระบุกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับแต่ละกระบวนงาน กระบวนงาน กิจกรรม 1. การคัดสรรผลิตภัณฑ์ OTOP 1. การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ 2. การอบรมผู้ประกอบการ 3. การอบรมเจ้าหน้าที่ 4. เกณฑ์การตัดสินและให้คะแนน 5. ลงทะเบียนผู้ผลิต 6. ตั้งคณะกรรมการพิจารณาผลิตภัณฑ์ 7. ดำเนินการประชุมพิจารณาตัดสิน 8. ประกาศผลการตัดสิน 9. มอบรางวัลมาตรฐานผลิตภัณฑ์ 5

  14. ตัวอย่าง การรวบรวมรายละเอียดข้อมูลของแต่ละกิจกรรม กิจกรรม รายละเอียดข้อมูลแต่ละกิจกรรม 1. การเผยแพร่และ ประชาสัมพันธ์ 2. การลงทะเบียนผู้ผลิต 3. การอบรมเจ้าหน้าที่ 4. การอบรมผู้ประกอบการ 5. เกณฑ์การตัดสินและให้ คะแนน 6. การมอบรางวัลมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ คำอธิบายโดยสังเขปเกี่ยวกับขอบเขตของงานในกิจกรรม จัดอบรมผู้ประกอบการให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ OTOP รวมถึงประโยชน์ที่ได้รับ การวัดผล/ดัชนีชี้วัด 2 ครั้ง ๆ ละ 500 ราย เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1. เอกสารต้นเรื่อง (Input) 1) รายชื่อผู้ลงทะเบียน 2) เอกสารประกอบการฝึกอบรม 3) เอกสารเกี่ยวกับการเงิน 2. เอกสารที่เป็นผลผลิต (Output) 1) ทะเบียนผู้ผ่านการอบรม 2) ผลสำรวจความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม อุปสรรค/ปัญหา 1. กลุ่มอบรมใหญ่ 2. หลักสูตรไม่เฉพาะเจาะจง โอกาสในการปรับปรุง 1. แยกกลุ่มในการอบรม 2. กำหนดหลักสูตรที่เจาะจงกับกลุ่ม 3. อบรมแบบเข้มข้น

  15. ทบทวนสิ่งที่ได้ดำเนินการแล้ว – การวิเคราะห์กระบวนงานปัจจุบัน (ต่อ) จังหวัด/ส่วนราชการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 กลยุทธ์ที่ 1 กลยุทธ์ที่ 2 กระบวนงานในปัจจุบัน (แบบฟอร์ม 1.1 ชุด 1) กระบวนงานในปัจจุบัน (แบบฟอร์ม 1.1 ชุด 1) กระบวนงาน #1.1 กระบวนงาน #2.1 Redesign กระบวนงาน #1.2 กระบวนงาน #2.2 Redesign กระบวนงาน #1.3 Design กระบวนงานที่ยังไม่ได้ ดำเนินการในปัจจุบัน (แบบฟอร์ม 1.1 ชุด 2) กระบวนงานที่ยังไม่ได้ ดำเนินการในปัจจุบัน (แบบฟอร์ม 1.1 ชุด 2) กระบวนงาน #1.4 กระบวนงาน #2.3 Design กระบวนงาน #1.5 กระบวนงาน #1.6

  16. ภาพแสดงการวิเคราะห์สิ่งที่ต้องดำเนินการ/สิ่งที่ต้องเปลี่ยนแปลงด้านกระบวนงานภาพแสดงการวิเคราะห์สิ่งที่ต้องดำเนินการ/สิ่งที่ต้องเปลี่ยนแปลงด้านกระบวนงาน กลยุทธ์ที่ 1 กระบวนงานในปัจจุบัน (แบบฟอร์ม 1.1 ชุด 1) กระบวนงาน #1.1 กระบวนงาน #1.2 กระบวนงาน #1.3 วัตถุประสงค์ของกระบวนงาน กระบวนงาน #1.4 กระบวนงานที่ยังไม่ได้ ดำเนินการในปัจจุบัน (แบบฟอร์ม 1.1 ชุด 2) กระบวนงาน #1.5 กระบวนงาน #1.6 กลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับประโยชน์ จากแบบฟอร์มที่ 1.2 และ 1.3 อุปสรรค/ปัญหา กรอกในแบบฟอร์มที่ 6 ปัจจุบัน กิจกรรมที่.... สิ่งที่ต้องดำเนินการ/สิ่งที่ต้องเปลี่ยนแปลง กิจกรรมที่... กิจกรรมที่... กิจกรรมที่... กิจกรรมที่... กิจกรรมที่... กิจกรรมที่... อนาคต ปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จ (Key Success Factors) สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ

  17. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนกระบวนงานและวิเคราะห์สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนกระบวนงานที่จะนำไปออกแบบ และ/หรือ ปรับปรุง ตลอดจนการวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและยกระดับคุณภาพการให้บริการ 1.2 วิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจำเป็นต้องมุ่งเน้นภายใต้แต่ละกระบวนงาน 1.1 ทบทวนกระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุงและกระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม ขั้นตอนที่ 2

  18. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนกระบวนงานและวิเคราะห์สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนกระบวนงานที่จะนำไปออกแบบ และ/หรือ ปรับปรุง ตลอดจนการวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและยกระดับคุณภาพการให้บริการ 1.1 ทบทวนกระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุงและกระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม 1.2 วิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจำเป็นต้องมุ่งเน้นภายใต้แต่ละกระบวนงาน ขั้นตอนที่ 2

  19. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนกระบวนงานและวิเคราะห์สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนกระบวนงานที่จะนำไปออกแบบ และ/หรือ ปรับปรุง ตลอดจนการวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและยกระดับคุณภาพการให้บริการ 1 2 3 4 6 7 แบบฟอร์มที่ 5 “แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จและสิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ” 5

  20. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนกระบวนงานและวิเคราะห์สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนกระบวนงานที่จะนำไปออกแบบ และ/หรือ ปรับปรุง ตลอดจนการวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและยกระดับคุณภาพการให้บริการ 1 • “ประเด็นยุทธศาสตร์” • คำอธิบาย: ระบุชื่อประเด็นยุทธศาสตร์ที่ทำการวิเคราะห์

  21. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนกระบวนงานและวิเคราะห์สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนกระบวนงานที่จะนำไปออกแบบ และ/หรือ ปรับปรุง ตลอดจนการวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและยกระดับคุณภาพการให้บริการ 2 2. “กลยุทธ์” คำอธิบาย: ระบุชื่อกลยุทธ์ภายใต้ประเด็นยุทธ์ศาสตร์ที่ทำการวิเคราะห์

  22. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนกระบวนงานและวิเคราะห์สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนกระบวนงานที่จะนำไปออกแบบ และ/หรือ ปรับปรุง ตลอดจนการวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและยกระดับคุณภาพการให้บริการ 3 3. “กระบวนงาน” คำอธิบาย: ในส่วนที่ 1 ให้ระบุกระบวนงานที่ได้คัดเลือกมาปรับปรุง ตามที่ระบุไว้ในแบบฟอร์มที่ 4.2 และในส่วนที่ 2 ให้ระบุกระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม ตามที่ระบุไว้ในแบบฟอร์มที่ 1.1 ชุด 2 เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จ และสิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ ส่วนที่ 1 แบบฟอร์มที่ 4.2 (ส่วนที่ 1) แบบฟอร์มที่ 1.1 ชุด 2 (ส่วนที่ 2) ส่วนที่ 2

  23. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนกระบวนงานและวิเคราะห์สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนกระบวนงานที่จะนำไปออกแบบ และ/หรือ ปรับปรุง ตลอดจนการวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและยกระดับคุณภาพการให้บริการ 4 4. “วัตถุประสงค์” คำอธิบาย: ระบุวัตถุประสงค์ของกระบวนงาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐาน ในการวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จของกระบวนงานนั้นๆ

  24. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนกระบวนงานและวิเคราะห์สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนกระบวนงานที่จะนำไปออกแบบ และ/หรือ ปรับปรุง ตลอดจนการวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและยกระดับคุณภาพการให้บริการ • 5. “กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับประโยชน์” • คำอธิบาย: ระบุกลุ่มเป้าหมายหลักที่คาดว่าจะได้รับผลประโยชน์โดยตรงจากความสำเร็จของกระบวนงาน เช่น • เกษตรกร • ผู้ประกอบการ • ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายสินค้า OTOP • ผู้ประกอบการ SMEs • ผู้ประกอบการขนส่งสินค้า เป็นต้น • หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง • ผู้บริโภค • ประชาชน เป็นต้น 5

  25. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนกระบวนงานและวิเคราะห์สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนกระบวนงานที่จะนำไปออกแบบ และ/หรือ ปรับปรุง ตลอดจนการวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและยกระดับคุณภาพการให้บริการ 6 6. “ปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จ” คำอธิบาย:ระบุปัจจัยเกื้อหนุนสำคัญ ซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักที่จำเป็นต้องมี เพื่อให้วัตถุประสงค์ของกระบวนงานประสบผลสำเร็จ

  26. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนกระบวนงานและวิเคราะห์สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนกระบวนงานที่จะนำไปออกแบบ และ/หรือ ปรับปรุง ตลอดจนการวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและยกระดับคุณภาพการให้บริการ 7 7. “สิ่งที่ต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ” คำอธิบาย: ระบุสิ่งที่ต้องดำเนินการ เพื่อให้เกิดปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จ

  27. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนกระบวนงานและวิเคราะห์สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนกระบวนงานที่จะนำไปออกแบบ และ/หรือ ปรับปรุง ตลอดจนการวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและยกระดับคุณภาพการให้บริการ 1.1 ทบทวนกระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุงและกระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม 1.2 วิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจำเป็นต้องมุ่งเน้นภายใต้แต่ละกระบวนงาน ขั้นตอนที่ 2

  28. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 2.1 วิเคราะห์กิจกรรมที่ต้องดำเนินการเพื่อให้บรรลุผล 2.2 ระบุสิ่งที่ต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง การจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง

  29. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 2.1 วิเคราะห์กิจกรรมที่ต้องดำเนินการเพื่อให้บรรลุผล 2.2 ระบุสิ่งที่ต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง การจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง

  30. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 1 2 8 9 5 6 7 4 3 แบบฟอร์มที่ 6 “แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่ต้องดำเนินการ/สิ่งที่ต้องเปลี่ยนแปลง (Gap Analysis)”

  31. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 1 • “ประเด็นยุทธศาสตร์” • คำอธิบาย: ระบุชื่อประเด็นยุทธศาสตร์ที่ทำการวิเคราะห์

  32. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 2 2. “กลยุทธ์” คำอธิบาย: ระบุชื่อกลยุทธ์ภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ทำการวิเคราะห์

  33. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 3 3. “กระบวนงาน” คำอธิบาย: ระบุชื่อกระบวนงานเช่นเดียวกับแบบฟอร์มที่ 5 โดยในส่วนที่ 1 ระบุกระบวนงานที่ได้คัดเลือกมาปรับปรุงและในส่วนที่ 2 ระบุกระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติมเพื่อวิเคราะห์กิจกรรมที่ต้องดำเนินการเพื่อให้บรรลุผล และสิ่งที่ต้องดำเนินการ/สิ่งที่ต้องเปลี่ยนแปลงต่อไป ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2

  34. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 4 4. “กิจกรรมปัจจุบัน” คำอธิบาย:ระบุชื่อกิจกรรมที่ได้ดำเนินการอยู่ในปัจจุบันของแต่ละกระบวนงาน โดยดูจากแบบฟอร์มที่ 1.2 ที่จังหวัด/ส่วนราชการได้ระบุไว้ ในกรณีของกระบวนงานที่ยังไม่ได้ดำเนินการในปัจจุบัน ไม่ต้องระบุกิจกรรมในช่องนี้ แบบฟอร์มที่ 1.2

  35. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 5 5. “กิจกรรมที่ต้องดำเนินการเพื่อให้บรรลุผล” คำอธิบาย: ระบุชื่อกิจกรรมที่จังหวัด/ส่วนราชการจำเป็นจะต้องดำเนินการ เพื่อให้กระบวนงานประสบผลสำเร็จ หากกิจกรรมในปัจจุบันใด (จากช่อง “กิจกรรมปัจจุบัน”) ยังมีความจำเป็น ก็ให้คงไว้ และสามารถเพิ่มเติมกิจกรรมที่ควรมี หรือตัดกิจกรรมที่ไม่จำเป็นออก ทั้งนี้ ให้พิจารณาจากสิ่งที่ต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ (ตามที่ระบุไว้ในแบบฟอร์มที่ 5) เปรียบเทียบกับกิจกรรมที่ได้ดำเนินการอยู่ในปัจจุบัน

  36. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 6 6. “ชื่อหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ” คำอธิบาย: ระบุชื่อหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบของแต่ละกิจกรรมที่ต้องดำเนินการเพื่อให้บรรลุผล

  37. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 7 7. “ชื่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง” คำอธิบาย: ระบุชื่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานของแต่ละกิจกรรมที่ต้องดำเนินการเพื่อให้บรรลุผล

  38. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 8 8. “สิ่งที่ต้องดำเนินการ/สิ่งที่ต้องเปลี่ยนแปลง” คำอธิบาย: ระบุสิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการ ต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อให้การดำเนินงานในแต่ละกิจกรรม เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสบผลสำเร็จ

  39. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 9 • 9. “เป็นการเปลี่ยนแปลงด้าน” • คำอธิบาย: ระบุตัวย่อของด้านของสิ่งที่ต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง โดยแบ่งเป็น • P(Process) คือ ด้านขั้นตอน/วิธีปฏิบัติงาน • S (Structure) คือ ด้านการจัดแบ่งงานและหน้าที่ • T (Technology) คือ ด้านเทคโนโลยี • H (Human Capital) คือ ด้านบุคลากร

  40. แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร เพิ่มคุณภาพผลผลิตพืช กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2) แปรรูปผลผลิตการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการผลิต (ปัจจัยด้านน้ำ) ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารให้ได้มาตรฐานความปลอดภัย (Food Safety) กระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม(จากแบบฟอร์ม 1.1 ชุดที่ 2)

  41. แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร เพิ่มคุณภาพผลผลิตพืช กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2) แปรรูปผลผลิตการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการผลิต (ปัจจัยด้านน้ำ) ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารให้ได้มาตรฐานความปลอดภัย (Food Safety) กระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม(จากแบบฟอร์ม 1.1 ชุดที่ 2)

  42. แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร • พันธุ์พืชที่แข็งแรงมีภูมิต้านทานโรคดีและเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม • เกษตรกรมีคุณภาพมีความสามารถในการเพาะปลูกและเข้าใจในมาตรฐาน GAP • เทคโนโลยีทางการเกษตรที่ดีและมีประสิทธิภาพ • ความสำเร็จในการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ • คุณภาพของดินและปริมาณน้ำที่เพียงพอ เพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตทางการเกษตรให้มีความปลอดภัยได้มาตรฐาน GAP - การวิจัยและพัฒนาพันธุ์พืชและการพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตร - การพัฒนาบุคลากรภาครัฐให้มีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการเกษตร (เช่นเทคนิคการเพาะปลูกมาตรฐาน GAP การปรับปรุงดินเกษตรอินทรีย์และเทคนิคการจัดการน้ำเป็นต้น) - การเผยแพร่ความรู้แก่เกษตรกร (เช่นเทคนิคการเพาะปลูกมาตรฐาน GAP การปรับปรุงดินเกษตรอินทรีย์และเทคนิคการจัดการน้ำเป็นต้น) - การจัดการน้ำที่มีประสิทธิภาพ 1. เกษตรกร กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2)

  43. แบบฟอร์มที่ 6:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) และระบุสิ่งที่ต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง 1........... 1........... 2........... 1........... 2........... 1........... 1........... 1........... 1........... 2........... 3........... 1........... 2........... 1........... 2........... 1........... ตัวอย่าง • การวิจัยและพัฒนาพันธุ์พืชและเทคโนโลยีทางการเกษตร • การพัฒนาบุคลากรภาครัฐให้มีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการเกษตร (เช่นเทคนิคการเพาะปลูกมาตรฐาน GAP การปรับปรุงดินเกษตรอินทรีย์และเทคนิคการจัดการน้ำเป็นต้น) • การฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกร (เช่นเทคนิคการเพาะปลูกมาตรฐาน GAP การปรับปรุงดินเกษตรอินทรีย์และเทคนิคการจัดการน้ำเป็นต้น) • การตรวจและออกใบรับรองแหล่งเพาะปลูกที่ได้มาตรฐาน • การบริหารจัดการแหล่งน้ำ การประชาสัมพันธ์โครงการและการรับจดทะเบียนฟาร์ม การฝึกอบรมกระบวนการผลิตพืชตามหลักเกษตรดีที่เหมาะสม (ผู้ตรวจรับรองแปลง) ฝึกอบรมที่ปรึกษาเกษตรกร (GAP อาสา) ฝึกอบรมและให้คำแนะนำแก่ฟาร์มสมาชิก การตรวจรับรองแหล่งผลิตพืช (หน่วยต่อแปลง) การออกเอกสารรับรอง • มีระบบในการจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ: • - ผลการวิจัยและพัฒนา • - แหล่งและปริมาณน้ำความต้องการและประสิทธิภาพในการใช้น้ำ • - ผลผลิตแยกตามชนิดและแหล่งเพาะปลูก • - แหล่งเพาะปลูกที่ได้มาตรฐานGAP และรายละเอียดข้อมูลการออกใบรับรองเป็นต้น • พัฒนาบุคลากรที่มีหน้าที่โดยตรงให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ: • การวิจัยและพัฒนาพันธุ์พืช • เทคโนโลยีทางการเกษตรเป็นต้น T H กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2) หมายเหตุ: * ระบุด้านด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (P) ด้านการจัดแบ่งงานและบทบาทหน้าที่ (S) ด้านเทคโนโลยี (T) ด้านบุคลากร (H)

  44. Agenda การพัฒนาศักยภาพองค์กรและบุคลากร 2.1 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรกับการนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ 2.2 แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร 2.3 แบบฟอร์มและวิธีการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์

  45. Workforce Transformation Model Workforce Transformation Model จะแสดงถึงองค์กรประกอบสำคัญที่ควรพิจารณาในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร Workforce Transformation Model Leadership Enterprise Performance Core Values Strategy and Goals Organization Structure Enterprise Environment Workforce performance Resources and Structure Physical Setup Workforce Capability Process/Task Design Tools and Systems Work Environment Individual performance Individual Competency Motivation Context alignment Goal alignment Characteristics Experience Skills Regulatory issues Economic realities Social and demographic trends

  46. Competency คืออะไร Competencyเป็นแนวคิดที่มาจากการวิจัยของศาสตราจารย์ เดวิด แมคคลาเลน แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ซึ่งได้ศึกษาคุณสมบัติและคุณลักษณะของนักธุรกิจและผู้บริหารระดับสูงที่ประสบความสำเร็จในองค์กรชั้นนำว่ามีคุณลักษณะอย่างไรจากการวิจัยพบว่าประวัติและผลลัพธ์ทางการศึกษาที่ดีเด่นของบุคคลไม่ได้เป็นปัจจัยที่จะชี้วัดว่าบุคคลนั้นๆ จะประสบความสำเร็จในหน้าที่การงานเสมอไป หากต้องประกอบไปด้วยคุณลักษณะอื่นๆ อาทิ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ความสามารถในการสื่อสารและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น เป็นต้น Competencyหมายถึง กลุ่มของทักษะ ความรู้ ความสามารถ รวมทั้ง พฤติกรรม คุณลักษณะและทัศนคติที่บุคลากรจำเป็นต้องมีเพื่อปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตรงตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์กร

  47. Competencyจัดเป็นพื้นฐานในกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการคัดเลือก การสรรหา การประเมินผล การบริหารจัดการในเรื่องของความก้าวหน้า หรือการพัฒนา ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันและสอดคล้องกับพื้นฐานเดียวกัน โดยศักยภาพและคุณลักษณะของบุคคลที่เราต้องการสร้างและพัฒนาในองค์กร ซึ่งจะมีความสัมพันธ์กับเป้าหมายของผลการดำเนินงาน วัฒนธรรมองค์กร วิสัยทัศน์และกลยุทธ์ขององค์กร

  48. ประโยชน์ของการนำ Competency มาใช้บริหารทรัพยากรบุคคลในองค์กร หน่วยงานบริหารทรัพยากรบุคคล • ภาพรวมของ Competencies ของทั้งองค์กร • สามารถวิเคราะห์ความจำเป็นในการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรในองค์กร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ • เพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลต่างๆ อาทิ การสรรหา คัดเลือก การประเมินทักษะ การวางแผนความก้าวหน้าในสายอาชีพ เป็นต้น ผู้บริหารระดับสูง • เชื่อมโยงกลยุทธ์กับรูปแบบการพัฒนาบุคลากร • ช่วยให้องค์กรสามารถประเมินจุดแข็งและจุดอ่อนของศักยภาพของทรัพยากรในองค์กร เพื่อใช้ในการกำหนดแผนเชิงกลยุทธ์ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว • สามารถวัดผลได้ชัดเจน ผู้อำนวยการ • ทราบถึงทักษะ คุณลักษณะ (Competencies) ที่ต้องการของบุคลากรในฝ่ายตน • เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการพัฒนาบุคลากรในฝ่าย • ใช้เป็นปัจจัยในการพิจารณาสรรหา คัดเลือกบุคลากรให้ตรงกับคุณสมบัติของตำแหน่งงานนั้นๆ พนักงาน • ระบุจุดแข็ง จุดอ่อนของตน ตลอดจนแผนการฝึกอบรมและพัฒนาของตนได้อย่างชัดเจน • ช่วยให้พนักงานเข้าใจถึงเส้นทางความก้าวหน้าสายอาชีพและการพัฒนาศักยภาพของตนเอง เพื่อให้ไปบรรลุเป้าหมายได้อย่างชัดเจน • มีกรอบมาตรฐานในการวัดผลทักษะความสามารถได้อย่างชัดเจน

  49. ตัวอย่างของ Competency ประจำกลุ่มงานต่างๆโดย ก.พ.ซึ่งอยู่ในระหว่างการศึกษาเพิ่มเติม

  50. ตัวอย่างของ Competency ประจำกลุ่มงานต่างๆ • การวางแผน • กฎหมาย • การจัดการภาษีอากร • การจัดการเอกสารและข้อมูล • การซ่อมแซมและบำรุงรักษา • การดำเนินการวิจัย • การตรวจสอบภายใน • การตรวจสอบระบบและอุปกรณ์ • การตลาด • การสื่อสารการตลาด • การให้คำปรึกษา • การบริหารสาธารณสุขชุมชน • การบริหารการขนส่ง • การบริหารการเงินและทุน • การบริหารความเสี่ยง • การบริหารโครงการ • การบริหารการเปลี่ยนแปลง • การรักษาความปลอดภัย • ความรอบรู้ในเรื่องสายโซ่อุปทาน (Supply Chain) • ความรู้ในผลิตภัณฑ์ • การสร้างสรรค์และผลิตสื่อ • การประชาสัมพันธ์ • การพัฒนาระบบงาน • การพัฒนาธุรกิจ • การพัฒนาองค์กรและกระบวนการทางธุรกิจ • การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการทางเทคนิคและวิศวกรรม • การพัฒนาบุคลการภายในองค์กร • การพัฒนาบุคลากรชุมชน • การบริหารคุณภาพ • การบริหารงบประมาณและการลงทุน • การบริหารและดำเนินการงานจัดหา • การบริหารทรัพยากรบุคคล • การจัดการฝึกอบรม • การบริหารและดำเนินการสาธารณสุขชุมชน • การบริหาร Third Party • การจัดการพัสดุและสินค้าคงคลัง • การบริหารและจัดการระบบความปลอดภัย • การบริหารและจัดการคุณภาพ • การบริหารจัดการข้อมูล • การบริหารระบบสิ่งแวดล้อม • การบริหารระบบชีวอนามัย • การบริหารชุมชน • การบัญชีและงบประมาณ • การปฏิบัติการระบบคอมพิวเตอร์ • ความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศระบบเครือข่ายและการสื่อสาร • การประกันภัย

More Related