1.44k likes | 2.2k Views
บทที่ 9 ปัจจัยดอกเบี้ยและการตัดสินใจทางการเงิน (Interest Factor and Financial Decision. ความสำคัญของปัจจัยดอกเบี้ยและการตัดสินใจทางการเงิน.
E N D
บทที่ 9ปัจจัยดอกเบี้ยและการตัดสินใจทางการเงิน(Interest Factor and Financial Decision
ความสำคัญของปัจจัยดอกเบี้ยและการตัดสินใจทางการเงินความสำคัญของปัจจัยดอกเบี้ยและการตัดสินใจทางการเงิน จากแนวความคิดที่ว่า ค่าของเงิน (Time Value of Money)จะมีการเปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาเพราะถือว่าเงินที่เราได้รับในปัจจุบัน ย่อมสามารถนำไปลงทุนโดยปราศจากความเสี่ยง (Risk Free Rate)จากอัตราดอกเบี้ย ซึ่งจะทำให้ค่าของเงินที่ได้รับในปัจจุบันมีค่าสูงกว่าค่าของเงินที่จะได้รับในอนาคตทั้งที่จำนวนเท่ากัน ดังนั้นในการพิจารณาหรือตัดสินใจทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับการเงินระยะยาวในธุรกิจ ผู้บริหารทางการเงินจำเป็นจะต้องเข้าใจแนวคิดเรื่องมูลค่าของเงินตามระยะเวลา ตลอดจนวิธีการทางที่จะนำมาใช้คำนวณวัดมูลค่าของเงินได้ นั่นหมายถึงการเข้าใจเรื่องปัจจัยดอกเบี้ยที่มีผลต่อการตัดสินใจทางการเงิน และนำมาคำนวณหาค่าของเงินใน 2 แง่มุม
ความสำคัญของปัจจัยดอกเบี้ยและการตัดสินใจทางการเงินความสำคัญของปัจจัยดอกเบี้ยและการตัดสินใจทางการเงิน จากแนวความคิดที่ว่า ค่าของเงิน (Time Value of Money)จะมีการเปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาเพราะถือว่าเงินที่เราได้รับในปัจจุบัน ย่อมสามารถนำไปลงทุนโดยปราศจากความเสี่ยง (Risk Free Rate)จากอัตราดอกเบี้ย ซึ่งจะทำให้ค่าของเงินที่ได้รับในปัจจุบันมีค่าสูงกว่าค่าของเงินที่จะได้รับในอนาคตทั้งที่จำนวนเท่ากัน ดังนั้นในการพิจารณาหรือตัดสินใจทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับการเงินระยะยาวในธุรกิจ ผู้บริหารทางการเงินจำเป็นจะต้องเข้าใจแนวคิดเรื่องมูลค่าของเงินตามระยะเวลา ตลอดจนวิธีการทางที่จะนำมาใช้คำนวณวัดมูลค่าของเงินได้ นั่นหมายถึงการเข้าใจเรื่องปัจจัยดอกเบี้ยที่มีผลต่อการตัดสินใจทางการเงิน และนำมาคำนวณหาค่าของเงินใน 2 แง่มุม
การลงทุนประเภทใดที่ไม่มีความเสี่ยงโดยมีผลตอบแทนการลงทุนประเภทใดที่ไม่มีความเสี่ยงโดยมีผลตอบแทน
ฝากธนาคาร ดังนั้นการลงทุนต่างๆถ้าได้ผลตอบแทนน้อยกว่า การฝากเงิน ก็ไม่ควรจะลงทุน
มูลค่าทบต้น (Compound Value) มูลค่าทบต้นเป็นการหามูลค่าของเงินจำนวนหนึ่ง ที่ทบต้นกับปัจจัยดอกเบี้ยที่ได้รับ ตามข้อตกลงในระยะเวลาที่กำหนด (Compound Value) นอกจากนั้นยังสามารถคำนวณหามูลค่าทบต้นของเงินที่เก็บสะสมหลายงวด ๆ ละเท่า ๆ กัน (Compound sum of an annuity) ก่อนจะศึกษามูลค่าทบต้น ต้องเข้าใจเรื่องทฤษฎีดอกเบี้ยก่อน
ทฤษฎีดอกเบี้ย ถ้าหากฝากธนาคาร 100 บาท ธนาคารจ่ายดอกเบี้ยในอัตรา 5%ต่อปี เราจะได้รับเงินเท่าไหร่ 100 + (100 X 5%) = 100 + 5 = 105 ดอกเบี้ย 5% 105 100 เวลา 1 ปี เงินอนาคต เงินปัจจุบัน
การคำนวณมูลค่าทบต้น ถ้าหากว่าผู้ลงทุนต้องการให้เงินที่นำไปฝากอยู่ในธนาคารจนสิ้นปีที่สอง ในกรณีนี้เมื่อถึงวันสิ้นปีที่สอง เงินที่นำไปฝากในตอนแรกจำนวน 100 บาท เราจะได้รับเงินเท่าไหร่ ตอบ
การคำนวณมูลค่าทบต้น ถ้าหากว่าผู้ลงทุนต้องการให้เงินที่นำไปฝากอยู่ในธนาคารจนสิ้นปีที่สอง ในกรณีนี้เมื่อถึงวันสิ้นปีที่สอง เงินที่นำไปฝากในตอนแรกจำนวน 100 บาท เราจะได้รับเงินเท่าไหร่ 110.25
การคำนวณมูลค่าทบต้น เงินฝากครั้งแรก 100.00 บาท ดอกเบี้ยสำหรับปีที่ 1 (100.00 X 5%) 5.00 บาท จำนวนเงิน ณ ปลายปีที่ 1 105.00 บาท ดอกเบี้ยสำหรับปีที่ 2 (105.00 X 5%) 5.25 บาท จำนวนเงิน ณ ปลายปีที่ 2110.25บาท
ทฤษฎีดอกเบี้ย การใช้สูตรคำนวณ Fn = P ( 1 + i )n
ทฤษฎีดอกเบี้ย Fn = P ( 1 + i )n โดย Fn = จำนวนเงินที่จะได้รับ ณ ปลายปีที่ n P = เงินทีจ่ายในปัจจุบัน i = อัตราดอกเบี้ย n = จำนวนปี
ทฤษฎีดอกเบี้ย Fn = P ( 1 + i )n F1 = จำนวนเงินที่จะได้รับ ณ ปลายปีที่ 1 P = 100 i = 5% n = 1 ปี F1 = 100 ( 1 + 5% )1 F1 = 100 ( 1 + 0.05 )1 F1 = 100 ( 1.05 )1 F1 = 105 บาท
การคำนวณมูลค่าทบต้น ถ้าหากว่าผู้ลงทุนต้องการให้เงินที่นำไปฝากอยู่ในธนาคารจนสิ้นปีที่สอง ในกรณีนี้เมื่อถึงวันสิ้นปีที่สอง เงินที่นำไปฝากในตอนแรกจำนวน 100 บาท เราจะได้รับเงินเท่าไหร่
Fn = P ( 1 + i )n F2 = จำนวนเงินที่จะได้รับ ณ ปลายปีที่ 2 P = 100 i = 5% n = 2 ปี F2 = 100 ( 1 + 5% )2 F2 = 100 ( 1 + 0.05 )2 F2 = 100 ( 1.05 )2 F2 = 100 ( 1.1025 ) F2 = 110.25 บาท
ตัวอย่างที่ 1 บทที่ 9 นายหนึ่งฝากเงิน 100 บาท กับสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง กำหนดเวลา 5 ปี อยากทราบว่าเมื่อครบกำหนดเขาจะได้รับเงินทั้งสิ้นเท่าใด ถ้าสถาบันการเงินแห่งนี้ให้ดอกเบี้ยในอัตรา 10% ต่อปี
Fn = P ( 1 + i )n F5 = ? P = 100 i = 10% n = 5 ปี F5 = 100 ( 1 + 10% )5 F5 = 100 ( 1 + 0.1 )5 F5 = 100 ( 1.1 )5 F5 = 100 ( 1.61051 ) F5 = 161.05 บาท หรือใช้ตาราง CVIF
ตาราง Compound value interest factors for $1 (CVIF) i = 10% n = 5 ปี n / i 10 5 1.6105 ( 1 + i% )n = ( 1 + 10% )5= 1.61051
F5 = P ( CVIF n = 5 ,i = 10% ) F5 = 100 ( 1.6105 ) F5 = 161.05 บาท ตัวอย่างที่ 2นายสองนำเงิน 500,000 บาท ไปลงทุนในบริษัทแห่งหนึ่งเป็นเวลา 10 ปี โดยได้รับดอกเบี้ยในอัตรา 10% ต่อปี เมื่อครบกำหนดจะได้รับเงินทั้งหมดเท่าใด F10 = P ( CVIF n = 10 ,i = 10% ) F10 = 500,000 ( 2.5937 ) F10 = 1,296,850 บาท
แบบฝึกหัด ท้ายบทที่ 9
เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) ก. 1,000 10% 3ปี ใช้สูตร
เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) ก. 1,000 10% 3ปี Fn = P ( 1 + i )n F3 = 1,000 ( 1 + 10% )3 F3 = 1,000 ( 1 + 0.10 )3 F3 = 1,000 ( 1.1 )3 F3 = 1,000 ( 1.331) F3 = 1,331 บาท
เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) ก. 1,000 10% 3ปี ใช้ตาราง CVIF Fn = P ( CVIF n = 3 ,i = 10% ) F3 = 1,000 ( 1.3310 ) F3 = 1,331 บาท
เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) จ. 5,000 18% 10 ปี ใช้ตาราง CVIF F10 = P ( CVIF n = 10 ,i = 18% ) F10 = 5,000 ( 5.2338 ) F10 = 26,169 บาท
เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) ฉ. 10,000 20% 25 ปี F25 = P ( CVIF n = 25 ,i = 20% ) F25 = 10,000 ( 95.3962 ) F25 = 953,962 บาท
เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) พิเศษ 1,000,000 12.50% 10 ปี ใช้สูตร ใช้ตาราง CVIF
เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) พิเศษ 1,000,000 12.50% 10 ปี Fn = P ( 1 + i )n F10 = 1,000,000 ( 1 + 12.50% )10 F10 = 1,000,000 ( 1.125)10
ลองกดเครื่องคิดเลขการคูณยกกำลังดูนะลองกดเครื่องคิดเลขการคูณยกกำลังดูนะ =(หมายถึง 2 ครั้ง) 1.125X(คูณ) X(คูณ) 1.125 กด=อีก 8 ครั้ง (หมายถึงครบ 10 ครั้ง)
เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) พิเศษ 1,000,000 12.50% 10 ปี Fn = P ( 1 + i )n F10 = 1,000,000 ( 1 + 12.50% )10 F10 = 1,000,000 ( 1.125 )10 F10 = 1,000,000 ( 3.2473207 ) F10 = 3,247,320.70 บาท F10 = 3,247,321.03 บาท
เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) พิเศษ 1,000,000 8.75% 18 ปี Fn = P ( 1 + i )n F18 = 1,000,000 ( 1 + 8.75% )18 F18 = 1,000,000 ( 1.0875 )18 F18 = 1,000,000 ( 4.5261257 ) F18 = 4,526,125.70 บาท F18 = 4,526,127.47 บาท
เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) พิเศษ 1,000 9.00% 28 ปี ใช้สูตร
เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) พิเศษ 1,000 9.00% 28 ปี Fn = P ( 1 + i )n F28 = 1,000 ( 1 + 9% )28 F28 = 1,000 ( 1.09)28 F28 = 1,000 ( 11.167136 ) F28 = 11,167.14 บาท
เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) พิเศษ 1,000 9.00% 28 ปี ใช้ตาราง
เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) พิเศษ 1,000 9.00% 28 ปี F28 = P ( CVIF n = 28 ,i = 9% ) F28 = 1,000 ( 11.1671 ) F28 = 11,167.10 บาท
การคำนวณระยะเวลาทบต้นการคำนวณระยะเวลาทบต้น Fn = P ( 1 + i )n จากสูตร n ตัวอย่างที่ 3นายสามมีเงินอยู่ 100,000 บาท ในอนาคตต้องการมีเงินทั้งหมด 235,800บาท โดยถ้านายสามนำไปฝากกับสถาบันการเงินจะได้รับดอกเบี้ยทบต้นในอัตรา 10% ต่อปี อยากทราบว่านายสามจะต้องนำเงินไปฝากไว้เป็นเวลากี่ปี Fn = P ( 1 + i )n 235,800 = 100,000 ( 1 + 10% )n ( 1 + 10% )n = 235,800 ÷ 100,000 ( 1 + 10% )n = 2.3580 เปิดตาราง CVIFi = 10%
ตาราง Compound value interest factors for $1 (CVIF) i = 10% n = ?ปี / i n 10 9 2.3580
การคำนวณระยะเวลาทบต้นการคำนวณระยะเวลาทบต้น Fn = P ( 1 + i )n จากสูตร n ตัวอย่างที่ 3นายสามมีเงินอยู่ 100,000 บาท ในอนาคตต้องการมีเงินทั้งหมด 235,800บาท โดยถ้านายสามนำไปฝากกับสถาบันการเงินจะได้รับดอกเบี้ยทบต้นในอัตรา 10% ต่อปี อยากทราบว่านายสามจะต้องนำเงินไปฝากไว้เป็นเวลากี่ปี นำเงินไปฝากไว้เป็นเวลากี่ปี 9 ปี Fn = P ( 1 + i )n 235,800 = 100,000 ( 1 + 10% )n ( 1 + 10% )n = 235,800 ÷ 100,000 ( 1 + 10% )n = 2.3580 เปิดตาราง CVIFi = 10% n = 9 ปี (ต้องฝาก 9 ปี)
ตัวอย่างเพิ่มเติม นายพิเศษมีเงินอยู่ 200,000 บาท ในอนาคตต้องการมีเงินทั้งหมด 466,320บาท โดยถ้านายพิเศษนำไปฝากกับสถาบันการเงินจะได้รับดอกเบี้ยทบต้นในอัตรา 8% ต่อปี อยากทราบว่านายพิเศษจะต้องนำเงินไปฝากไว้เป็นเวลากี่ปี Fn = 466,320 P = 200,000 i = 8% n = ?ปี
Fn = P ( 1 + i )n 466,320 = 200,000 ( 1 + 8% )n ( 1 + 8% )n = 466,320 ÷ 200,000 ( 1 + 8% )n = 2.3316 เปิดตาราง CVIFi = 8% n = 11 ปี ดังนั้นนายพิเศษต้องฝากเงินต้น 200,000 บาท เป็นเวลา 11 ปี แบบทบต้นในอัตราดอกเบี้ย 8% ถึงจะได้รับเงินสิ้นปีที่ 11 เท่ากับ 466,320 บาท
ตัวอย่างเพิ่มเติม นายพิเศษมีเงินอยู่ 400,000 บาท ในอนาคตต้องการมีเงินทั้งหมด 920,000บาท โดยถ้านายพิเศษนำไปฝากกับสถาบันการเงินจะได้รับดอกเบี้ยทบต้นในอัตรา 12% ต่อปี อยากทราบว่านายพิเศษจะต้องนำเงินไปฝากไว้เป็นเวลากี่ปี (ปี / เดือน / วัน) Fn = 920,000 P = 400,000 i = 12% n = ?ปี
Fn = P ( 1 + i )n 920,000 = 400,000 ( 1 + 12% )n ( 1 + 12% )n = 920,000 ÷ 400,000 ( 1 + 12% )n = 2.3000 เปิดตาราง CVIFi = 12%
ตาราง Compound value interest factors for $1 (CVIF) i = 12% n = ?ปี / i n 12 7 2.2107 n = 7 ปีกว่าๆ 2.3000 8 2.4760
จากข้อมูล 7 2.2107 2.3000 8 2.4760
จากข้อมูล 7 2.2107 ค่า CVIF ปีที่ 7 และ 8 หรือ 1 ปี ต่างกัน = 2.4760 – 2.2107 = 0.2653 ? 2.3000 8 2.4760
จากข้อมูล 7 2.2107 ค่า CVIF (2.4760 – 2.2107) = 0.2653 ห่างกัน 1 ปี 2.3000 – 2.2107 0.0893 ห่างกัน ? 2.3000 1 X 0.0893 0.2653 8 2.4760
จากข้อมูล 7 2.2107 ค่า CVIF (2.4760 – 2.2107) = 0.2653 ห่างกัน 1 ปี 0.34 ปี 0.0893 ห่างกัน 2.3000 1 X 0.0893 0.2653 8 2.4760