1 / 17

Artificial Neural Network โครงข่ายประสาทเทียม

Artificial Neural Network โครงข่ายประสาทเทียม. ความมหัศจรรย์ของสมองมนุษย์. - สมองมนุษย์มีประสิทธิภาพและมั่นคงมาก ทุกวันมีเซลล์ประสาทในสมองตายโดยที่ไม่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพของสมองโดยรวม

liseli
Download Presentation

Artificial Neural Network โครงข่ายประสาทเทียม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Artificial Neural Networkโครงข่ายประสาทเทียม

  2. ความมหัศจรรย์ของสมองมนุษย์ความมหัศจรรย์ของสมองมนุษย์ • - สมองมนุษย์มีประสิทธิภาพและมั่นคงมาก ทุกวันมีเซลล์ประสาทในสมองตายโดยที่ไม่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพของสมองโดยรวม • - ระบบสมองของมนุษย์ยืดหยุ่นมาก สามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่โดยการเรียนรู้ (ผิดกับคอมพิวเตอร์ที่จะต้องโปรแกรมใหม่) • สมองมนุษย์สามารถจัดการกับข้อมูลที่มีความไม่แน่นอน, มีสัญญาณรบกวน, และไม่สม่ำเสมอ ได้ดี • สมองสามารถประมวลผลข้อมูลขนาดมหาศาล เช่นรูปภาพ ในลักษณะการ ประมวลผลแบบขนานได้ดี • สมองมีขนาดเล็กและใช้พลังงานน้อย • โครงสร้างของสมองมนุษย์ได้วิวัฒนาการมาเป็นเวลาหลายล้านปี • และได้รับพิสูจน์จากธรรมชาติตราบจนกระทั่งทุกวันนี้

  3. ทำไมคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันที่มีความสามารถในการคำนวณสูงมากยังไม่สามารถเทียบกับความสามารถของสมองมนุษย์ในงานง่ายๆทำไมคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันที่มีความสามารถในการคำนวณสูงมากยังไม่สามารถเทียบกับความสามารถของสมองมนุษย์ในงานง่ายๆ (สำหรับมนุษย์) บางอย่าง เช่น การจำใบหน้า การฟังและการตีความหมาย การแปลภาษา ความสามารถของสมองมนุษย์ vs คอมพิวเตอร์ เซลล์ประสาทส่งสัญญาณ ได้ในอัตราสูงสุดประมาณ 1000 ครั้ง/วินาที ความเร็วของคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันขึ้นไปถึง 1700 MHz ความเร็ว ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ปัจจุบัน C > 1000 MFLOP การคำนวณ เลขคณิต สมองคนD การจดจำและแยก แยะรูปภาพ, เสียง สมองคนC คอมพิวเตอร์D

  4. วงจรข่ายนิวรอลเทียม Artificial Neural Networks เลียนแบบการทำงานของสมองมนุษย์ โดยใช้หน่วยประมวลผลง่ายๆ จำนวนมาก ต่อกันเป็นโครงสร้างขึ้นมา

  5. ข่ายงานประสาทเทียม • ข่ายงานประสาท (neural network หรือ neural net) • เป็นการจำลองการทำงานบางส่วนของสมองมนุษย์ • โมเดลทางคณิตศาสตร์ สำหรับประมวลผลสารสนเทศด้วยการคำนวณแบบคอนเนคชันนิสต์ (connectionist) เพื่อจำลองการทำงานของเครือขายประสาทในสมองมนุษย์

  6. วัตถุประสงค์ • สรางเครื่องมือซึ่งมีความสามารถในการเรียนรูการจดจำรูปแบบ(Pattern Recognition) และการอุปมานความรู ( Knowledge deduction) เชนเดียวกับความสามารถที่มีในสมองมนุษย์

  7. หลักการของ Neural Network • neurons จะประกอบด้วย input และ output เช่นเดียวกัน • input แต่ละอันมี weight เป็นตัวกำหนดน้ำหนักของ input • neuron แต่ละหน่วยจะมีค่า threshold เป็นตัวกำหนดน้ำหนักรวมของ input

  8. ตัวอย่างโครงสร้างของวงจรข่ายนิวรอลเทียมตัวอย่างโครงสร้างของวงจรข่ายนิวรอลเทียม Input nodes Output nodes Hidden nodes Connections Output ของแต่ละโหนด Xi = input จากโหนดอื่นๆ Wij= น้ำหนัก(weight)ของแต่ละแขน (connection)

  9. การทำงาน • เมื่อมี input เข้ามายัง network ก็เอา input มาคูณกับ weight ของแต่ละขา ผลที่ได้จาก input ทุก ๆ ขาของ neuron จะเอามารวมกันแล้วก็เอามาเทียบกับ threshold ที่กำหนดไว้

  10. การเรียนรู้สำหรับ Neural Network • Supervised Learning การเรียนแบบมีการสอน • การเรียนแบบมีการตรวจคำตอบเพื่อให้วงจรข่ายปรับตัว • มีชุดข้อมูลที่ใช้สอนเพื่อคอยดูว่าวงจรข่ายให้คำตอบถูกหรือไม่ • ถ้าไม่ถูก วงจรข่ายก็จะปรับตัวเพื่อให้ได้คำตอบที่ดีขึ้น

  11. Unsupervised Learning การเรียนแบบไม่มีการสอน • การเรียนแบบไม่มีผู้แนะนำ • วงจรข่ายจะจัดเรียงตัวเองตามลักษณะของข้อมูล • วงจรข่ายจะสามารถจัดหมวดหมู่ของข้อมูลได้

  12. Network Architecture Input nodes Output nodes Feedforward network ข้อมูลที่ประมวลผลในวงจรข่ายจะถูกส่งไปในทิศทางเดียวจาก Input nodes ส่งต่อมาเรื่อยๆจนถึง output nodesโดยไม่มีการย้อนกลับของข้อมูล หรือแม้แต่ Nodes ใน layerเดียวกันก็ไม่มีการเชื่อมต่อกัน Direction of data flow

  13. Network Architecture Output nodes Input nodes Feedback network ข้อมูลที่ประมวลผลในวงจรข่ายจะมีการป้อนกลับเข้าไปยังวงจรข่ายหลายๆครั้ง จนกระทั่งได้คำตอบออกมา (บางทีเรียกว่า Recurrent network)

  14. Gradient Descent Least mean square Backpropagation Reinforcement learning Recurrent Backpropagation RABAM Vector Quantization Brownian annealing Boltzmann learning ABAM, ART-2, BAM Self-organizing maps Competitive learning Counter-propagation Adaptive Resonance ART-1, ART-2 Neural Network Taxonomy Feedback Feedforward Supervised Unsupervised

  15. การประยุกต์ใช้งาน Neural Network • งานการจดจำรูปแบบที่มีความไม่แน่นอน เช่น ลายมือ ลายเซนต์ ตัวอักษร รูปหน้า • งานการประมาณค่าฟังก์ชันหรือการประมาณความสัมพันธ์ (มี inputs และ outputs แต่ไม่ทราบว่า inputs กับ outputs มีความสัมพันธ์กันอย่างไร) • งานที่สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ (วงจรข่ายนิวรอลสามารถปรับตัวเองได้) • งานจัดหมวดหมู่และแยกแยะสิ่งของ • งานทำนาย เช่นพยากรณ์อากาศ พยากรณ์หุ้น

  16. การประยุกตใชขายงานระบบประสาทควบคุมกระบวนการทางเคมีโดยวิธีพยากรณแบบจำลอง (Model Predictive Control) • การประยุกตใชขายงานระบบประสาทแบบแพรกระจายกลับในการทำนายพลังงานความรอนที่สะสม อยูในตัวอาคาร

  17. สรุป • การสร้างคอมพิวเตอร์ที่จำลองเอาวิธีการทำงานของสมองมนุษย์ • input units ,output units โดยมีการกำหนดค่าน้ำหนักให้แก่เส้นทางการนำเข้าของ input แต่ละตัว • การสร้างการเรียนรู้สำหรับ Neural Network เพื่อ มีสองวิธี คือ Supervised Learning และ Unsupervised Learning

More Related