1 / 38

กฎแหล่งกำเนิดสินค้า (Rule of Origin)

กฎแหล่งกำเนิดสินค้า (Rule of Origin). โดย นางวิไลวรรณ ทัพวงศ์ศรี ผอ. สำนักส่งเสริมและพัฒนาสิทธิประโยชน์ทางการค้า กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. คือ. กฎแหล่งกำเนิดสินค้า. หลักเกณฑ์ ระเบียบ เครื่องมือ กติกา เครื่องพิสูจน์. ถิ่นกำเนิดหรือความเป็นเจ้าของ

Download Presentation

กฎแหล่งกำเนิดสินค้า (Rule of Origin)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กฎแหล่งกำเนิดสินค้า(Rule of Origin) โดย นางวิไลวรรณ ทัพวงศ์ศรี ผอ. สำนักส่งเสริมและพัฒนาสิทธิประโยชน์ทางการค้า กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  2. คือ.... กฎแหล่งกำเนิดสินค้า • หลักเกณฑ์ • ระเบียบ • เครื่องมือ • กติกา • เครื่องพิสูจน์ ถิ่นกำเนิดหรือความเป็นเจ้าของ หรือสัญชาติของสินค้า กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  3. ทำไมต้องมีกฎแหล่งกำเนิดสินค้าทำไมต้องมีกฎแหล่งกำเนิดสินค้า • เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่า ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการให้สิทธิพิเศษจะตกแก่สินค้าที่เป็นผลผลิตที่แท้จริงของประเทศที่ได้รับสิทธิ กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  4. กฎแหล่งกำเนิดสินค้า มี 2 แบบ • แบบไม่ได้สิทธิพิเศษ (Non Preferential Rule) • แบบได้สิทธิพิเศษ (Preferential Rule) กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  5. Non Preferential Rule เป็นกติการ่วม หรือ หลักเกณฑ์กลางที่ประเทศสมาชิกตกลงใช้ร่วมกัน เป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยเท่าเทียมกัน (ปัจจุบันยังทำไม่เสร็จ) ผู้กำหนด / ผู้ใช้ WCO/WTO กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  6. Preferential Rule เป็นกติกา หรือ กฎเกณฑ์เฉพาะที่คู่สัญญา หรือ สมาชิกตกลงร่วมกันให้ใช้เฉพาะในกลุ่ม เพื่อใช้ในการรับสิทธิพิเศษตามที่ตกลงระหว่างประเทศ ผู้กำหนด / ผู้ใช้ ระบบ GSP, GSTP EU AFTA FTA กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  7. สาระสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าสาระสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า  หลักเกณฑ์ว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า (Origin Criteria)  เงื่อนไขการส่งมอบสินค้า (Consignment Condition)  เอกสารที่ใช้เป็นหลักฐาน (Documentary Evidence) กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  8. หลักเกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้าภายใต้สิทธิพิเศษฯหลักเกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้าภายใต้สิทธิพิเศษฯ สินค้าที่ผลิตหรือได้มาจากในประเทศทั้งหมด (Wholly Obtained) สินค้าที่ผลิตขึ้นโดยมีวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนที่นำเข้าต้องได้รับ “การแปรสภาพอย่างเพียงพอ” (Substantial Tranformation) กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  9. สินค้าที่ผลิตหรือได้มาจากในประเทศทั้งหมดสินค้าที่ผลิตหรือได้มาจากในประเทศทั้งหมด พืช เช่น แร่ธาตุ สัตว์ ปลา กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  10. การแปรสภาพเล็กน้อย • -การตัด การล้าง การทาสี • -การบรรจุขวด, การติดฉลาก • -การอบแห้ง การผึ่ง • -การเปลี่ยนหีบห่อ • -การประกอบชิ้นส่วน แบบง่าย ๆ ไม่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้า กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  11. สินค้าที่ผลิตขึ้นโดยมีวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนที่นำเข้าสินค้าที่ผลิตขึ้นโดยมีวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนที่นำเข้า ใช้หลักเกณฑ์ของ “การแปรสภาพอย่างเพียงพอ”Substantial Transformation (ST) ซึ่งประกอบด้วย... • การเปลี่ยนพิกัดฯ ระหว่าง “วัตถุดิบนำเข้า” กับ “สินค้าส่งออก” • การกำหนด “กระบวนการผลิต”หรือ “ประเภทของวัตถุดิบ” ที่ใช้ในการผลิต การกำหนดมูลค่าขั้นสูงของ “วัตถุดิบนำเข้า” การกำหนดมูลค่าวัตถุดิบและต้นทุนการผลิตในประเทศ กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  12. พิกัดศุลกากร คือ.. เครื่องมือในการจำแนกสินค้า เพื่อให้สามารถ ระบุสินค้าได้โดยสะดวก รวดเร็ว และเข้าใจตรงกัน เรียกว่า ระบบฮาร์โมไนซ์ (Harmonized System) โดยใช้ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์ กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  13. วิธีการจำแนกสินค้า แบ่งเป็นหมวด (Section) มี 21 หมวด แบ่งเป็นตอน (Chapter) ใช้เลข 2 หลัก (XX) มี 97 ตอน แบ่งเป็นประเภท (Heading) ใช้เลข 4 หลัก (XXXX) ใช้เลข 6 หลัก (XXXXXX) มีมากกว่า 5,500 รายการ แบ่งเป็นประเภทย่อย (Sub-heading) กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  14. ตัวอย่างการจำแนกพิกัดตัวอย่างการจำแนกพิกัด ตอนที่ 03 03. สัตว์น้ำ 0306. สัตว์น้ำ จำพวกครัสตาเซีย (กุ้ง ปู กั้ง) 0306.13 กุ้ง ตอนที่ 8787. ยานพาหนะ8711. รถจักรยานยนต์8711.30 รถจักรยานยนต์ 250 – 500 ซีซี

  15. การเปลี่ยนพิกัด (Change in Tariff Classification) ตัวอย่างการเปลี่ยนพิกัด 2 หลัก (CC) 4 หลัก (CTH) 6 หลัก (CTSH) CC : Change of chapter 7215 7302 CTH : Change of heading 7206 7217 CTSH:Change of subheading 710310 710391 กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  16. ตัวอย่างการเปลี่ยนพิกัดฯ ระหว่าง “วัตถุดิบนำเข้า” กับ “สินค้าส่งออก” วัตถุดิบ -- ทราย พิกัด สินค้า -- แก้ว พิกัด กระบวนการผลิต 70 25 วัตถุดิบ—ไม้ พิกัด สินค้า - หน้าต่าง ประตู พิกัด กระบวนการผลิต 4418 4403 กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  17. ตัวอย่างการกำหนด “กระบวนการผลิต” หรือ “ประเภทของวัตถุดิบ” ที่ใช้ในการผลิต ต้องเป็นสัตว์น้ำที่จับได้ในน่านน้ำไทย พืชผัก/ผลไม้ปลูกในประเทศไทย สัตว์น้ำ/ พืชผัก/ ผลไม้กระป๋อง/ปลากระป๋อง กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  18. ตัวอย่างการกำหนดมูลค่าขั้นสูงของวัตถุดิบนำเข้าตัวอย่างการกำหนดมูลค่าขั้นสูงของวัตถุดิบนำเข้า ไม่เกิน 40% ของราคาสินค้าส่งออก สินค้าส่งออก วัตถุดิบนำเข้า ไม้ (20 US$) น้ำยาเคลือบเงา ( 3 US$) ตะปู (5 US$) กาว (2 US$) เฟอร์นิเจอร์ไม้ (100 US$) กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  19. ตัวอย่างการกำหนดมูลค่าวัตถุดิบและต้นทุนการผลิตในประเทศตัวอย่างการกำหนดมูลค่าวัตถุดิบและต้นทุนการผลิตในประเทศ วัตถุดิบและต้นทุนการผลิตในประเทศไม้ (20 US$) ค่าแรงงาน (20 US$) ค่าไฟฟ้า (10 US$) ไม่ต่ำกว่า 40% ของราคาสินค้าส่งออก สินค้าส่งออก เฟอร์นิเจอร์ไม้ (100 US$) วัตถุดิบนำเข้า น้ำยาเคลือบเงา ( 3 US$) ตะปู (5 US$) กาว (2 US$) กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  20. ประเภทของกฎแหล่งกำเนิดสินค้าภายใต้สิทธิพิเศษประเภทของกฎแหล่งกำเนิดสินค้าภายใต้สิทธิพิเศษ General Rule (กฎทั่วไป) Product Specific Rule (กฎเฉพาะสินค้า) กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  21. General Rule กฎหลัก หรือ กฎทั่วไปที่ใช้กับทุกสินค้า ภายใต้ความตกลง คือ ตัวอย่าง สินค้าต้องมีมูลค่าเพิ่ม หรือ ต้นทุนการผลิตในประเทศมากกว่าร้อยละ 40 ของราคาส่งออก กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  22. Product Specific Rule กฎที่ใช้เฉพาะสินค้าหรือกฎที่ยกเว้นจากกฎทั่วไป ตัวอย่าง เครื่องปรับอากาศ พิกัดฯ 8415.10 ต้องเป็นสินค้าที่ผลิตหรือได้มาจากสินค้าพิกัดอื่นที่ไม่ใช่ 8415.10 (ในระดับ 4 หลัก) และต้องมีมูลค่าเพิ่มหรือต้นทุนการผลิตในประเทศไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของราคาสินค้า F.O.B กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  23. สรุปหลักเกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้าสรุปหลักเกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้า GSP-ญี่ปุ่น ใช้กฎทั่วไป ** การเปลี่ยนพิกัดฯ ระหว่าง“วัตถุดิบนำเข้า” กับ “สินค้าส่งออก” ในระดับ 4 หลัก ใช้กฎเฉพาะสินค้า • การกำหนดมูลค่าขั้นสูงของ “วัตถุดิบนำเข้า” • การกำหนด “กระบวนการผลิต”หรือ “ประเภทของวัตถุดิบ” ที่ใช้ในการผลิต กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  24. สรุปกฎถิ่นกำเนิดสินค้าภายใต้ JTEPA • สินค้าที่ได้มาทั้งหมด หรือ เป็นผลิตผลทั้งหมดในประเทศ “WHOLLY – OBTAINED” • สินค้าที่ใช้แต่วัตถุดิบในประเทศ ที่ “ได้ถิ่นกำเนิด” (ORIGINATING MATERIALS) • สินค้าที่มีการใช้วัตถุดิบนำเข้า ผลิตถูกต้องตาม “กฎเฉพาะสินค้า” “เกณฑ์การเปลี่ยนพิกัดฯ” ระหว่าง “วัตถุดิบนำเข้า” กับ “สินค้าส่งออก” “เกณฑ์มูลค่าเพิ่ม” ของการผลิตในประเทศมีสัดส่วนไม่ต่ำกว่า 40% ของราคาสินค้า F.O.B. “เกณฑ์กระบวนการผลิต” ที่กำหนดไว้โดยเฉพาะ กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  25. ตัวอย่างกฎการเปลี่ยนพิกัดฯ ระหว่าง “วัตถุดิบนำเข้า” กับ “สินค้าส่งออก” แก้วเครื่องดื่ม (7013) = A change to heading 7013 from any other heading (CTH) วัตถุดิบ -- ทราย พิกัด สินค้า -- แก้วเครื่องดื่ม พิกัด กระบวนการผลิต 7013 2505 กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  26. ตัวอย่างการกำหนดมูลค่าเพิ่มภายในประเทศ(value added 40%) เครื่องปรับอากาศแบบติดผนัง (8415.10) No required change in tariff classification to subheading 8415.10, provided thai there is a qualifying value content of not less than 40 per cent ไม่กำหนดให้เปลี่ยนพิกัด แต่สินค้าต้องมีมูลค่าเพิ่มไม่น้อยกว่า 40% กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  27. ตัวอย่างการกำหนด “กระบวนการผลิต” -No required change in tariff classification to heading 3901, provided that non-originating materials used undergo a chemical reaction, purification, isomer separation or biotechnological processes in a Party -ไม่กำหนดให้เปลี่ยนพิกัด แต่วัตถุดิบนำเข้าที่ใช้ต้องผ่านการเกิดปฎิกิริยาเคมี การทำให้บริสุทธิ์ การแยกไอโซเมอร์ หรือ กระบวนการทางเทคโนโลยีชีวภาพในภาคี โพลิเมอร์ (3901) กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  28. กฎแหล่งกำเนิดสินค้าภายใต้ JTEPA กฎแหล่งกำเนิดสินค้าของ JTEPA มี • กฎเดียว เช่น การเปลี่ยนพิกัด (CC, CTH, CTSH) • กฎทางเลือก เช่น การเปลี่ยนพิกัด หรือ มูลค่าเพิ่ม 40% กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  29. ตัวอย่าง กฎแหล่งกำเนิดสินค้า • สินค้าเครื่องปรับอากาศ (พิกัด HS. 8415.10) -A change to subheading 8415.10 from any other subheading or -No required change in tariff classification to subheading 8415.10 , provided thai there is a qualifying value content of not less than 40 per cent กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  30. ตัวอย่าง กฎแหล่งกำเนิดสินค้า • สินค้ากระดาษคาร์บอน หรือกระดาษทำสำเนา (พิกัด HS. 4816) -A change to heading 4816 from any other heading except from heading 4809 กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  31. การสะสมแหล่งกำเนิดสินค้า(Cumulation Rule of Origin) การคำนวณแหล่งกำเนิดสินค้า โดยยอมให้รวมต้นทุนวัตถุดิบ หรือ ต้นทุนการผลิตระหว่างประเทศภาคีสมาชิกด้วยกันได้ คือ ตัวอย่าง ต้นทุนวัตถุดิบไทย + ต้นทุนวัตถุดิบออสเตรเลีย = ต้นทุนสะสม + = 40 30 10 กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  32. การตรวจสอบคุณสมบัติทางด้านถิ่นกำเนิดสินค้าการตรวจสอบคุณสมบัติทางด้านถิ่นกำเนิดสินค้า กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  33. วัตถุประสงค์ของ การตรวจถิ่นกำเนิดสินค้า • ตรวจว่าสินค้ามีคุณสมบัติถูกต้องตาม กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า หรือไม่ • ป้องกันการแอบอ้างถิ่นกำเนิดสินค้า (Circumvention) กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  34. ข้อมูลที่ผู้ส่งออกต้องตรวจสอบก่อนขอใช้สิทธิข้อมูลที่ผู้ส่งออกต้องตรวจสอบก่อนขอใช้สิทธิ • สินค้าที่ส่งออกจัดอยู่ในพิกัดศุลกากรใด-www.customs.go.th- ตรวจสอบกับผู้นำเข้า • สินค้าอยู่ในรายการที่ได้รับสิทธิพิเศษ หรือไม่-www.dft.moc.go.th- www.thaifta.com - www.mfa.go.th • กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้ากำหนดไว้อย่างไร • วิธีปฏิบัติในการขอหนังสือรับรองฯเพื่อขอใช้สิทธิฯ กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  35. กรมการค้าต่างประเทศกับความพร้อมในการรอง JTEPA กรมฯ ได้เตรียมความพร้อมในเรื่องของบุคลากร • ให้คำปรึกษาในเรื่องระเบียบปฎิบัติในการใช้สิทธิประโยชน์จาก JTEPA เช่น เรื่องกฎแหล่งกำเนิดสินค้า การออกหนังสือรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า ระเบียบปฎิบัติในการส่งออก/นำเข้าสินค้าที่อยู่ภายใต้ TRQ ตามข้อผูกพันของ WTO และระเบียบปฎิบัติในการส่งออกสินค้าที่ไทยและญี่ปุ่นกำหนดโควตาในการนำเข้า • ความพร้อมในเรื่องของระเบียบปฎิบัติตามพันธกรณีอยู่ระหว่างการดำเนินการออกระเบียบ/ประกาศ เรื่องการจัดสรรโควตา การออกหนังสือรับรองในการส่งออก/นำเข้า สินค้าที่กำหนดในพันธกรณี กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  36. ความพร้อมในการรองรับ JTEPA  ส่งเสริมและอำนวยความสะดวกให้กับผู้ส่งออกในการใช้สิทธิประโยชน์ ให้บริการในการตรวจสอบและรับรองแหล่งกำเนิดสินค้าผ่านทาง Internet ที่เรียกว่าระบบ E-Origin โดยระบบได้ออกแบบให้เชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานภาครัฐ ที่ใช้ในการตรวจสอบ เช่น ข้อมูลนิติบุคคลกับกรมพัฒนาธุรกิจ ข้อมูลโรงงานกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม ข้อมูลใบขนสินค้ากับกรมศุลกากร ทำให้ไม่ต้องขอดูเอกสารจำนวนมากจากผู้ส่งออกและ ให้บริการการออกหนังสือรับรองผ่านทางระบบ EDI ซึ่งทั้งสองระบบดังกล่าวได้: - เพิ่มความสะดวกและรวดเร็วสำหรับผู้ส่งออก - ลดภาระขั้นตอนการยื่นเอกสาร - เพิ่มประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความชัดเจนของข้อมูล และ - ประหยัดต้นทุนและเวลาในการเตรียมเอกสาร กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  37. สถานที่ให้บริการของกรมฯสถานที่ให้บริการของกรมฯ ส่วนกลาง 1. สำนักบริการการค้าต่างประเทศ อาคารกรมการค้าต่างประเทศ ชั้น 3 สนามบินน้ำ จ. นนทบุรี โทร. 0-2547-4753, 0-2547-4832 โทรสาร 0-2547-4757 2. อาคารตรวจสอบสินค้าขาออก เขตปลอดอากร ตึกซีอี-1 ชั้น 2 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โทร. 02-134-0942-5 โทรสาร 02-134-0946 3. อาคารกองตรวจสินค้าขาออก กรมศุลกากร ท่าเรือกรุงเทพฯ โทร 0-2512-0123 ต่อ 817-8 โทรสาร 0-2249-2106 4. ศูนย์บริการส่งออกแบบเบ็ดเสร็จกรมส่งเสริมการส่งออก ถ. รัชดาภิเษก โทร. 0-2512-0123 ต่อ 817-8 โทรสาร 0-2512-0329 5. ศูนย์รวบรวมผักและผลไม้เพื่อการส่งออก (ตลาดไท) โทร. 0-2832-6942 โทรสาร 0-2832-6942 ส่วนภูมิภาค เขต1 เชียงใหม่ โทร. 0-5327-4671-2 โทรสาร 0-5327-7901 เขต 2 หาดใหญ่ โทร. 0-7452-2501-2 โทรสาร 0-7425-2501 เขต 3 ชลบุรี โทร. 0-3834-1173-4 โทรสาร 0-3834-1174 เขต 4 สระแก้ว โทร. 0-3742-5062 โทรสาร 0-3742-5063 เขต 5 หนองคาย โทร. 0-4241-3373-5 โทรสาร 0-4241-3376 เขต 6 เชียงราย โทร. 0-5371-9612-4 โทรสาร 0-5371-9615

  38. สอบถามเพิ่มเติม สำนักส่งเสริมและพัฒนาสิทธิประโยชน์ทางการค้า อาคารกรมการค้าต่างประเทศ 0 2547 4818-9, 0 2547 4872 กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

More Related